Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66627
Title: การจำลองแบบทางคอมพิวเตอร์สำหรับศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์ที่มีการเรียกเข้าซ้ำของผู้ใช้บริการ
Other Titles: Computer simulation for call center with customer retrials
Authors: ศุภิสรา คุรุฐิติ
Advisors: เชาวน์ดิศ อัศวกุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Chaodit.A@Chula.ac.th
Subjects: การจำลองระบบ
แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์
ศูนย์ตอบรับโทรศัพท์
Simulation methods
Computer simulation
Call centers
Issue Date: 2548
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การพัฒนาแบบจำลองทางคอมพิวเตอร์เพื่อใช้สำหรับศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์ เกิดขึ้นเนื่องจาก ความซับซ้ำในการทำงานของระบบศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์ที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้การวิเคราะห์สรรถนะ ของศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์ด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ไม่เพียงพอต่อการจำลองระบบที่ซับซ้อนได้อย่าง เหมาะสมวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงได้นำเสนอการจำลองแบบทางคอมพิวเตอร์สำหรับศูนย์บริการตอบรับทาง โทรศัพท์ ซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ การพิจารณาการเรียนเข้าซ้ำของผู้ใช้บริการที่นำเสนอ แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ซึ่งได้แก่ ส่วนของการสร้างและทดสอบแบบจำลองที่นำเสนอซึ่งมีลักษณะพิเศษที่ให้ความสนใจในวิทยานิพนธ์นี้คือการพิจารณาทราฟฟิกที่มีการเรียกเข้าซ้ำ สำหรับในส่วนที่สองวิทยานิพนธ์นี้มุ่งประยุกต์แบบ จำลองที่สร้างขึ้นเพื่อศึกษาแบบแผนการจัดดการแถวคอยโดยมีการเปรียบเทียบทั้งหมด 3 รูปแบบ ได้แก่ แบบ ดั้งเดิมซึ่งจัดลำดับความสำคัญในการให้บริการผู้ขอใช้บริการแบบเข้าก่อนได้รับบริการก่อน (first-in, first-out: FIFO), แบบแผนการจัดลำดับแถวคอยแบบ deterministic priority queuing (DPQ) ซึ่งจัดลำดับความสำคัญให้ผ้ขอใช้บริการที่มีจำนวนการเรียกเข้าซ้ำสูงได้รับบริการก่อนเสมอ และแบบแผนการจัดการแถวคอยแบบ random priority queuing (RPQ) ซึ่งมีการจัดลำดับความสำคัญในการให้บริการผู้ขอใช้บริการ โดยที่ผู้ขอใช้บริการนั้น ๆ ผลการทดสอบสมรรถนะของแบบจำลองที่นำเสนอ พบว่า จำนวนผู้ขอใช้บริการที่ได้รับบริการ เฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกันสำหรับแบบแผนการจัดการแถวคอยทั้ง 3 รูปแบบที่ทดสอบ อย่างไรก็ตามการจัดการแบบ DPQ และ RPQ สามารถจัดลำดับความสำคัญของการให้บริการได้ดีกว่าแบบ FIFO โดยที่ผู้ขอใช้บริการที่อาจจะมีความจำเป็นต้องการใช้บริการมากและเรียกเข้าซ่ำมากครั้งกว่าก็จะมีโอกาสเข้ารับบริการได้มาก กว่าเช่นกัน ทั้งนี้สมรรถนะของ DPQ และ RPQ ที่ดีกว่า FIFO นี้ต้องแลกมาด้วยความซับซ้อนในการนำไป ประยุกต์ใช้งานในทางปฏิบัติระบบจำเป็นต้องสามารถสอบสถานะจำนวนครั้งในการเรียกเข้าว้ำได้
Other Abstract: The importance of computer simulation modelling of call center has arisen from the increased complexity in call center operations, which renders the mathematical models insufficienr to deal with the required details of system behaviours. In this thesis. the focus is then on developing a suitable computer simulation model for call center operations with an extra emphasis on the consideration of customer retrial behaviours. The proposed work can be divided into two parts. The first part is concerned with the construction and testing of computer simulation model for call center with customer retrials. The second part is then concerned with the application of developed simulation program to investigate three queue management schemes In particular, the first scheme is the conventional first-in, first-out (FIFO), where customers who have come into the system first will always be serviced first by operators. The second scheme is here called deterministic priority queuing (DPQ), which always services the customer with the highest number of retrials first. And the third scheme is called random priority queuing (RPQ), by which the probability of a customer being serviced is directly proportional to the customer’s number of retrials. From the obtained numerical. Results, it is found that the percentage of success callere has not been affected by the difference in employed queuing schemes. However, DPQ and RPQ are better than FIFO in that they both can efficiently assign priorities to different customers; customer with higher needs of accessing the system Hence more number of retrials can more easily gain access to the operators. These increased benefits Must be traded-off with the increased implementation complexity, i.e.. the system must be able to trace the customer’s current number of retrials.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66627
ISSN: 9741742215
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suphisara_kh_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ856.9 kBAdobe PDFView/Open
Suphisara_kh_ch1_p.pdfบทที่ 1862.59 kBAdobe PDFView/Open
Suphisara_kh_ch2_p.pdfบทที่ 21.81 MBAdobe PDFView/Open
Suphisara_kh_ch3_p.pdfบทที่ 3755.46 kBAdobe PDFView/Open
Suphisara_kh_ch4_p.pdfบทที่ 41.09 MBAdobe PDFView/Open
Suphisara_kh_ch5_p.pdfบทที่ 5653.9 kBAdobe PDFView/Open
Suphisara_kh_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก673.72 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.