Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66700
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรูญ มหิทธาฟองกุล-
dc.contributor.authorสัญชัย ไพศาล-
dc.date.accessioned2020-06-30T08:51:38Z-
dc.date.available2020-06-30T08:51:38Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745313912-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66700-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อลดของเสียในกระบวนการรีดยางของการผลิตยางรถยนต์ โดยใช้การวิเคราะห์ลักษณะบกพร่องและผลกระทบด้านคุณภาพ (Failure Mode and Effects Analysis, FMEA) โดยเริ่มจากการศึกษากระบวนการรีดยางของการผลิตยางรถยนต์ในโรงงานตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล และค้นหาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อข้อบกพร่องทุกกระบวนการรีดยางของโรงงานตัวอย่าง โดยอาศัยการระดมสมองด้วยการใช้แผนภาพต้นไม้ แผนผัง แสดงเหตุและผล แผนภาพความสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบด้านคุณภาพสำหรับกระบวนการผลิต (PFMEA) จากนั้นให้ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการรีดยาง มาวิเคราะห์เพื่อประเมินค่าความรุนแรงของข้อบกพร่อง ค่าโอกาสการเกิดข้อบกพร่อง และค่าโอกาสการตรวจพบข้อบกพร่องในกระบวนการผลิต เพื่อคำนวณค่าดัชนีความเสี่ยงชี้นำ (Risk Priority Number หรือ RPN) ซึ่งเป็นค่าที่บอกถึงความเสี่ยงที่เกิดข้อบกพร่องขึ้น โดยค่า RPN มากหมายถึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดข้อบกพร่องสูง วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะทำการแก้ไขลักษณะข้อบกพร่องที่มีค่า RPN ตั้งแต่ 100 คะแนนขึ้นไป จากการดำเนินการแก้ไขมีทั้งการปรับปรุงเครื่องจักร อุปกรณ์ต่างๆ ในกระบวนการรีดยางการจัดทำรายละเอียดและการตั้งค่ามาตรฐานการทำงาน การฝึกอบรมพนักงาน ฯลฯ ซึ่งผลการดำเนินการแก้ไข พบว่า เปอร์เซ็นต์ของเสียเทียบยอดผลิต ลดลงจาก 26.07% เหลือ 14.82 % (ลดลง 11.29%) จากการดำเนินการปรับปรุงในกระบวนการจากเครื่องรีดยาง Tuber#2, 3 โดยเปอร์เซ็นต์ของเสียประเภทของเสียที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ในกระบวนการผลิตได้ลดลงจาก 2.09% เหลือ 0.74% (ลดลง 1.35%) และเปอร์เซ็นต์ของเสียที่ทำให้ต้องนำกลับไปในกระบวนการผลิตใหม่ ลดลงจาก 25.08% เหลือ 11.24% (ลดลง 13.84%) โดยมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องสำหรับค่าคะแนนดัชนีความเสี่ยงชี้นำ (RPN) พบว่าลดลง 29.00% ถึง 80.00%จากค่า RPN ของกระบวนการผลิตก่อนทำการแก้ไข-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis are to defect reduction in extruding process of tire manufacturing appropriately by using Failure Mode and Effect Analysis (FMEA). This research is started from studying the process, defined the fact , collect data and find cause of defect in extruding process of tire manufacturing with brain storming technique by using Tree Diagram, Causes and Effects Diagram ,Relation Diagram and Failure Mode and Effect Analysis (FMEA). After that, specialists in tire manufacturing analyze and evaluate the Severity, Occurrence and Detection of each defect to calculate Risk Priority Number (RPN) help to specific risk of defect occurrence. The meaning for high RPN is the risk of high defect occurrence. The research improves processes which have RPN higher value than 100. The improvements are improve the Tuber machine and concerned equipments, make the standard of properly method, training, etc. The results of the improvement operation are the percent defects in extruding process from 26.07% to 14.82% (11.29% reduction) 1 Scrap component are reduced from 2.09% to 0.74% (1.35% reduction) , Processing return component are reduced from 25.08% to 11.24% (13.84% reduction) and RPN are reduced about 29% to 80% from previous RPN.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมยางรถ -- การควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen_US
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen_US
dc.subjectTire industry -- Quality controlen_US
dc.subjectLoss controlen_US
dc.subjectProcess controlen_US
dc.titleการลดของเสียในกระบวนการรีดยางของการผลิตยางรถยนต์en_US
dc.title.alternativeDefect reduction in extruding process of tire manufactringen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorCharoon.M@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunchai_pa_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ969.22 kBAdobe PDFView/Open
Sunchai_pa_ch1_p.pdfบทที่ 1973.34 kBAdobe PDFView/Open
Sunchai_pa_ch2_p.pdfบทที่ 21.42 MBAdobe PDFView/Open
Sunchai_pa_ch3_p.pdfบทที่ 34.04 MBAdobe PDFView/Open
Sunchai_pa_ch4_p.pdfบทที่ 44.87 MBAdobe PDFView/Open
Sunchai_pa_ch5_p.pdfบทที่ 51.34 MBAdobe PDFView/Open
Sunchai_pa_ch6_p.pdfบทที่ 6745.13 kBAdobe PDFView/Open
Sunchai_pa_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก3.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.