Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดิเรก ลาวัณย์ศิริ-
dc.contributor.authorพรชัย ศิลารมย์-
dc.date.accessioned2020-09-18T06:51:26Z-
dc.date.available2020-09-18T06:51:26Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.issn9743464808-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67994-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ได้จากการออกแบบส่วนผสมด้วยวิธีมาร์แชลและวิธีซูเปอร์เพฟระดับ 1 โดยเปรียบเทียบลักษณะทางด้านปริมาตรของส่วนผสมที่ได้และคุณสมบัติการใช้งานของส่วนผสมจากปริมาณแอสฟัลด์ที่ได้จากวิธีการออกแบบที่แตกต่างกัน ในการศึกษาจะใช้แอสฟัลต์ซีเมนต์ AC60/70 และมวลรวมประเภทหินปูน จำนวน 3 ขนาดคละโดยใช้พื้นที่ที่ถูกจำกัด (Restricted Zone) ในวิธีซูเปอร์เพฟ เป็นตัวกำหนด ขนาดคละที่ 1 2 และ 3 จะอยู่ด้านบน ผ่านกลาง และด้านใต้ของพื้นที่ถูกจำกัด ตามลำดับ นำมาทำการออกแบบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตโดยวิธีมาร์แชลและวิธีซูเปอร์เพฟ ระดับ 1 เปรียบเทียบปริมาณแอสฟัลต์ซีเมนต์ปริมาณช่องว่างของอากาศ และปริมาณช่องว่างที่เติมด้วยแอสฟัลต์จากนั้นทำการเปรียบเทียบค่าความแปรปรวนของความหนาแน่นของก้อนตัวอย่างจากวิธีการบดอัดที่แตกต่างกัน สุดท้ายจะทำการเปรียบเทียบค่าโมดูลัสคืนตัวและทดสอบความล้าจากก้อนตัวอย่างที่ผสมด้วยปริมาณแอสฟัลต์ซีเมนต์ที่ได้จากการออกแบบ ผลการทดสอบที่ได้พบว่าส่วนผสมทั้ง 3 ขนาดคละให้ผลในแนวเดียวกันคือ การใช้วิธีการออกแบบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตวิธีซูเปอร์เพฟระดับ 1 จะทำให้ได้ส่วนผสมที่มีค่าปริมาณแอสฟัลต์ซีเมนต์ ปริมาณช่องว่างของอากาศและปริมาณช่องว่างที่เติมด้วยแอสฟัลต์น้อยกว่าส่วนผสมที่ได้จากวิธีมาร์แชล นอกจากนี้การใช้ Gyratory Compactor ก็จะให้ค่าความแปรปรวนของก้อนตัว- อย่างน้อยกว่า ประกอบกับค่าโมดูลัสคืนตัวและความต้านทานต่อการยุบตัวจากการทดสอบความล้าก็มีค่ามากกว่า ดังนั้นสำหรับแอสฟัลต์ซีเมนต์ AC60/70 และขนาดคละของหินปูนที่ใช้พบว่าการใช้วิธีซูเปอร์เพฟระดับ 1 ออกแบบส่วนผสมจะทำให้ได้ส่วนผสมที่ใช้ปริมาณแอสฟัลต์ซีเมนต์น้อยลงทำให้เกิดการประหยัดในการก่อสร้างถนน และมีคุณสมบัติค่าโมดูลัสคืนตัวและความต้านทานต่อการยุบตัวดีขึ้นส่งผลให้ได้ผิวทางแบบแอสฟัลต์คอนกรีตที่มีความแข็งแรงด้านทานต่อการเสียหายได้ดีขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to investigate a comparison of asphalt concrete mixtures designed by two different methods; respectively Marshall and Superpave™ Level I mix design. The comparison is made by looking at the volumetric properties and performance properties for mixes at optimum asphalt content achieved by the different mix design methods. In this study, asphalt cement AC60/70 and three gradations of limestone were utilized. Three different gradation, respectively placed on the upper, passing through and below the Restricted Zone in Superpave™, were selected in the investigation. The first step was to determine the optimum asphalt content for asphalt concrete mixtures designed by Marshall and Superpave™ level I methods. This was done by looking at the optimum asphalt content, voids in the mineral aggregate (VMA) and the voids filled with asphalt (VFA). A comparison was made of density variation of the samples from each compaction methods. The last step was to compare resilient modulus and values from fatigue test of the samples from each optimum asphalt content from each design methods. The Superpave™ Level I mix design shows a lower optimum values of needed asphalt cement, VMA and VFA for all gradations. At the same time the variation in density of the samples from Gyratory Compactor is smaller and both the resilient modulus and deformation resistance are higher. In conclusion that, for asphalt cement AC60/70 and limestone aggregate, the utilization of Superpave™ Level I mix design tend to give the low cost asphalt concrete mixtures due to less asphalt cement than that of Marshall method. At the same time, it will be possible to get higher durability and quality road surface resulting from higher resilient modulus and better deformation resistance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแอสฟัลต์คอนกรีตen_US
dc.subjectแอสฟัลต์ซีเมนต์en_US
dc.subjectAsphalt concreteen_US
dc.subjectAsphalt cementen_US
dc.titleการเปรียบเทียบส่วนผสมแอสฟัลต์คอนกรีตที่ได้จากการออกแบบ โดยวิธีมาร์แชลและวิธีซูเปอร์เพฟ ระดับ 1en_US
dc.title.alternativeComparison of asphalt mixtures from marshall and superpave TM level I mix design methodsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorldirek@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornchai_si_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ337.29 kBAdobe PDFView/Open
Pornchai_si_ch1.pdfบทที่ 1160.92 kBAdobe PDFView/Open
Pornchai_si_ch2.pdfบทที่ 2942.11 kBAdobe PDFView/Open
Pornchai_si_ch3.pdfบทที่ 3437.03 kBAdobe PDFView/Open
Pornchai_si_ch4.pdfบทที่ 42.05 MBAdobe PDFView/Open
Pornchai_si_ch5.pdfบทที่ 568.24 kBAdobe PDFView/Open
Pornchai_si_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก6.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.