Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68209
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กิตติ อินทรานนท์ | - |
dc.contributor.author | ภัทรินทร์ เฉลิมแสน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-28T01:27:05Z | - |
dc.date.available | 2020-09-28T01:27:05Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743327037 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68209 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินระดับความล้าที่เกิดขึ้นในการแบกหามกระสอบข้าวสาร ที่เกิด จากการแบกกระสอบข้าวสารน้ำหนัก 25 55 100 และ 125 กิโลกรัม โดยใช้ผู้ทดลองเป็นชาย 10 คน ที่ทํางานแบก หาม กระสอบข้าวสารและกำหนดน้ำหนักที่ปลอดภัยในการทำงาน การทดลองกระทำในห้องทดลองซึ่งจำลองแบบ การทํางานตามสภาพการทำงานจริง โดยจะวัดคลื่นกระแสไฟฟ้ากล้ามเนื้อที่กล้ามเนื้อหลังทางด้านซ้ายและขวา กล้ามเนื้อน่องทางด้านซ้ายและ ขวา และความล้าของกล้ามเนื้อด้วย เทคนิค JASA ผลการศึกษาพบว่ากล้ามเนื้อที่มี ความล้าในการทำงานมากที่สุด ในการทำงานแบบเดินแบกกระสอบข้าวสารเป็นระยะทาง 20 เมตร ทิ้งกระสอบ ข้าวสารและ เดินกลับตัวเปล่า อีก 20 เมตร เป็น รอบการทำงานเช่นนี้เป็น เวลา 20 นาที คือกล้ามเนื้อหลังทางด้าน ขวา และในการทํางานแบกกระสอบข้าวสารอย่างต่อเนื่อง คือ กล้ามเนื้อน่องทางด้านขวา จากนั้นทำการพิจารณาน้ำ หนักของกระสอบข้าวสารที่ปลอดภัยในการทํางาน จาก ความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับการหดตัวของกล้ามเนื้อ และ น้ำหนักของกระสอบข้าวสารที่แบก หาม โดยจะอาศัยข้อมูลจากกล้ามเนื้อ 4 ชุด จากความสัมพันธ์ดังกล่าวสามารถ พิจารณาระดับการหดตัวที่เหมาะสมในการทำงาน คือ 8 %MVC และ 15 % MVC แล้วแทนค่ากลับลงไปในสมการ ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการหดตัวเฉลี่ยและน้ำหนักกระสอบข้าวสาร ได้ ค่าน้ำหนักที่เหมาะสมในการทำงานแบก กระสอบข้าวสาร ที่มีค่าแตกต่าง กันไปในแต่ละกล้ามเนื้อ เมื่อนำค่าน้ำหนักที่มีค่าต่ำที่สุด มากำหนดเป็น น้ำหนักของ กระสอบข้าวสารที่ปลอดภัยในการทำงานของผู้ถูกทดลองผู้นั้น และของกลุ่มผู้ถูกทดลองในที่สุด พบว่า ค่าน้ำหนักที่ เหมาะสมในการทำงาน ของผู้ถูกทดลองกลุ่มนี้มีค่าอยู่ในร่วง (78.38 159.41 กิโลกรัม และ ค่ามัธยฐาน 113.54 กิโลกรัม จึงควรสรุปได้ว่า ค่าน้ำหนักที่ปลอดภัยในการทำงานของกลุ่มผู้ถูกทดลองกลุ่มนี้คือ 78.38 กิโลกรัม | - |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to evaluate fatigue in muscles of rice bag carrying task and establish the safe weight for the task by using the 25, 55, 100 and 125 kg bags. Ten male subjects who earn their living as rice bag carrier were participated in the study. This experiment was conducted in the laboratory that simulated real working environment and recorded EMG in left, right erector spinae, left and right gastrocnemius and consider of muscle fatigue using JASA technique. It was found that the most fatigued muscle in carry 20 m walking forward and 20 m backward task cycle in 20 minute period is the right erector spinae and for continuous carrying walk task is the right gastrocnemius. The safe weight in rice bag carrying task for these 10 male subjects was then determined by considering relationship between average contraction level and rice bag weight in each muscle base on data on four muscles and consider safe weight by the appropriate contraction level was then found to be 8 % MVC and 15% MVC. These value were then substitued back into the functional relationship between average contraction level and rice bag weight to obtain the appropriate weight for each muscle group. It was found that in this study the safe weight is ( 78.38, 159.41) kilogram and the median is 113.54 kilogram and it may be conclude that the for this group of subject is 78.38 kilogram | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | กำลังกล้ามเนื้อ | - |
dc.subject | การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ | - |
dc.title | ขีดจำกัดในงานแบกกระสอบข้าวสารโดยวิธีการวัดคลื่นกระแสไฟฟ้าของกล้ามเนื้อ | - |
dc.title.alternative | Limits in rice-bag-carrying task using an electromyography approach | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pattarin_ch_front_p.pdf | 1.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattarin_ch_ch1_p.pdf | 935.98 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattarin_ch_ch2_p.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattarin_ch_ch3_p.pdf | 844.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattarin_ch_ch4_p.pdf | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattarin_ch_ch5_p.pdf | 754.09 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pattarin_ch_back_p.pdf | 4.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.