Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68690
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศศักดิ์ ยุกตะนันทน์-
dc.contributor.advisorอรรถฤทธิ์ ศฤงคไพบูลย์-
dc.contributor.authorลัคนา พิมพ์จันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-26T02:46:14Z-
dc.date.available2020-10-26T02:46:14Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.issn9743323236-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68690-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงบิดสูงสุดของกล้ามเนื้อกลุ่มโรเตเตอร์ต่อประสิทธิภาพของการขว้างลูกบอล กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนักกีฬาซอฟท์บอลหญิง จำนวน 80 คน โดยแยกเป็นนักกีฬาทีมชาติ 12 คน นักกีฬามหาวิทยาลัย 50 คน และนักกีฬาโรงเรียน 18 คน ดำเนินการเก็บข้อมูลวัดประสิทธิภาพในการขว้างลูกบอลโดยการวัด ระยะทาง ระยะเวลาและความแม่นยำในการขว้างลูกบอลและเก็บรวบรวมข้อมูลค่าแรงบิดสูงสุดด้วยเครื่อง ไอโซไคเนติคไดนาโม มิเตอร์ (ไซเบกซ์ รุ่น 6000) ในท่าหมุนไหล่ออกข้างนอก (PT EX) และท่าหมุนไหล่เข้าข้างใน (PT IN) ที่ความเร็ว 60 120 และ 240 องศาต่อวินาที จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันโดยกำหนดระดับความมีนัยสำคัญทางสถิติ p≤0.05 ผลการศึกษาพบว่า ในกลุ่มนักกีฬาทั้งหมด ค่าแรงบิดสูงสุดในท่าหมุนไหล่ออกข้างนอกที่ความเร็ว 120 องศาต่อวินาที มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการขว้างลูกบอลทั้งระยะเวลาและระยะทาง (r = .278, .341 ตามลำดับ) ค่าแรงบิดสูงสุดในท่าหมุนไหล่เข้าข้างในที่ความเร็วเดียวกัน มีความสัมพันธ์กับระยะทางและความแม่นยำในการขว้างลูกบอล (r = .241, .236 ตามลำดับ) ในกลุ่มนักกีฬาทีมชาติไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ในกลุ่มนักกีฬามหาวิทยาลัยมีความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงบิดสูงสุดในท่าหมุนไหล่เข้าข้างในที่ ความเร็ว 60 และ 240 องศาต่อวินาที กับระยะเวลาและระยะทางของการขว้างลูกบอล (r = -.285, .311 ตามลำดับ) อัตราส่วนค่าแรงบิดสูงสุดที่ความเร็ว 60 และ 120 องศาต่อวินาทีมีความสัมพันธ์กับความแม่นยำในการขว้างลูกบอล (r = -.352) และกลุ่มนักกีฬาโรงเรียนมีความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงบิดสูงสุดใน ท่าหมุนไหล่ออกค่านอกที่ความเร็ว 120 องศาต่อวินาทีกับระยะทาง (r = .657) ในท่าไหล่เข้าข้างในที่ ความเร็ว 60 และ 120 องศาต่อวินาที มีความสัมพันธ์กับระยะทาง (r = .673, .531 ตามลำดับ) พบว่าค่า แรงบิดสูงสุดของกล้ามเนื้อกลุ่มโรเตเตอร์ที่ข้อไหล่ในนักกีฬาทีมชาติสูงกว่าในนักกีฬามหาวิทยาลัยและ นักกีฬาโรงเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และค่าแรงบิดสูงสุดในท่าทั้งสองที่ความเร็ว 120 องศาต่อวินาที มีความสัมพันธ์กับระยะทางของ ประสิทธิภาพในการขว้างลูกบอลมากที่สุด-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the correlation between peak torque (PT) of shoulder rotators muscle groups and efficiency of throwing. Subjects was 80 female softball players: 12 national athletes, 50 university athletes, and 18 high school athletes. Collected data for measuring the efficiency of throwing were distances, time, and accuracy of throwing. In addition, subjects were tested to measure peak torque by using the isokinetic dynamometer (Cybex 6000) at speed 60, 120, and 240 deg/sec for external (PT EX) and internal (PT IN) rotation. Statistical analysis was performed using the Pearson Product Moment Correlation. Determination of the correlation coefficient was made at the p≤0.05. The results indicated that in all athletes” external rotation peak torque at speed 120 deg/sec correlated significantly with time and distance of throwing (r = .278, .341, respectively) and internal rotation peak torque at this speed correlated significantly with distance and accuracy of throwing (r = .241, .238, respectively). No significant correlation among any variables in national athlete group. In university athlete group there was correlation between internal rotation peak torque at speed 60 and 240 deg/sec and time and distance of throwing (r = -.285, .311, respectively) and peak torque at speed 60 and 120 deg/sec correlated with accuracy of throwing (r = -.352). In addition, high school athletes showed correlation between external rotation peak torque at speed 120 deg/sec and distance (r = .657) and internal rotation peak torque at speed 60 and 120 deg/sec correlated with distance (r = .673, .531, respectively). Shoulder peak torque as well as efficiency of throwing in national athletes were higher than these parameters in university and high-school athletes. In conclusion, peak torque at speed 120 deg/sec showed the highest correlation with distance of efficiency of throwing.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไหล่en_US
dc.subjectกล้ามเนื้อen_US
dc.subjectไอโซคิเนติก (การฝึกกำลัง)en_US
dc.subjectการฝึกกำลังกล้ามเนื้อen_US
dc.subjectซอฟท์บอลen_US
dc.subjectShoulderen_US
dc.subjectMusclesen_US
dc.subjectIsokinetic exerciseen_US
dc.subjectMuscle strength trainingen_US
dc.subjectSoftballen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดสูงสุดของกล้ามเนื้อกลุ่มโรเตเตอร์ที่หัวไหล่ต่อประสิทธิภาพในการขว้างลูกบอลในนักกีฬาซอฟท์บอลหญิงen_US
dc.title.alternativeThe correlation between peak torque of shoulder rotators muscle group with efficiency of throwing in female softball playeren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเวชศาสตร์การกีฬาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Luckhana_pi_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ466.19 kBAdobe PDFView/Open
Luckhana_pi_ch1.pdfบทที่ 1325.93 kBAdobe PDFView/Open
Luckhana_pi_ch2.pdfบทที่ 21.13 MBAdobe PDFView/Open
Luckhana_pi_ch3.pdfบทที่ 3329.65 kBAdobe PDFView/Open
Luckhana_pi_ch4.pdfบทที่ 4875.03 kBAdobe PDFView/Open
Luckhana_pi_ch5.pdfบทที่ 5244.97 kBAdobe PDFView/Open
Luckhana_pi_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.