Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68977
Title: บทบาททางด้านความมั่นคงขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) ในยุคหลังสงครามเย็น
Other Titles: NATO's security roles in the post-cold war era
Authors: ศศิธร รักษ์แก้ว
Advisors: ประทุมพร วัชรเสถียร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Prathoomporn.V@Chula.ac.th
Subjects: องค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาบทบาททางด้านความมั่นคงขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติก เหนือ (นาโต) ในยุคหลังสงครามเย็น โดยให้ความสำคัญแก่การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ขององค์การภายหลังการล่มสลายของระบอบคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกเมื่อต้นทศวรรษ 1990 การดำเนินบทบาทขององค์การในความสัมพันธ์กับกลุ่มประเทศในภูมิภาคยุโรปและกับองค์การระหว่างประเหศอื่น ๆ ตลอดจนผลประโยขนของรัฐมหาอานาจต่าง ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรังเศส เยอรมนี และสหพันธรัฐรัสเซีย ที่สะท้อนผ่านทางบทบาทใหม่ของนาโตในยุคหลังสงครามเย็นด้วย ผลการศึกษาวิจัยพบว่า นาโตมีความจำเป็นต้องปรับโครงสร้างและภารกิจขององค์การเพื่อให้สามารถดำรงตนอยู่ได้ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์ภายในภูมิภาคยุโรปและยังคงต้องดำเนินบทบาททางด้านความมั่นคงต่อไปในยุคหลังสงครามเย็นเพื่อตอบสนองต่อผลประโยชน์ของรัฐต่าง ๆ ในภูมิภาค ยูโร-แอตแลนติก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริการซึ่งเป็นรัฐมหาอานาจที่ได้รับผลประโยชน์มากที่สุดจากการผลักดันให้นาโตปรับเปลี่ยนบทบาทเพื่อความคงอยู่ต่อไป
Other Abstract: The main purpose of this study is to examine the security roles of the North Atlantic Treaty Organization (NATO) in the post-Cold War era. The thesis focuses on NATO's strategic adaptation to the new European security environment at the beginning of 1990s and NATO's security roles in relation with all European countries as well as with other international organizations. NATO also has to adapt its roles to suit the national interests of some particular great powers such as the United States, the United Kingdom, France, Germany and the Russian Federation. The research found that it was the United States' initiative to bring NATO toward drastic reforms. And it was the United States that would gain mostly from the newly adapted NATO in the post-Cold War era.
Description: วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68977
ISBN: 9743320946
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasithorn_ra_front_p.pdf816.14 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ra_ch1_p.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ra_ch2_p.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ra_ch3_p.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ra_ch4_p.pdf713.2 kBAdobe PDFView/Open
Sasithorn_ra_back_p.pdf1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.