Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพจน์ เตชวรสินสกุล-
dc.contributor.authorวลาวัต บินอุมาร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-05-27T06:34:58Z-
dc.date.available2008-05-27T06:34:58Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745324388-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7018-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวัดคลื่นแรงเฉือนในตัวอย่างทรายที่ทดสอบในเครื่องมืออัดตัวคายน้ำรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยทำการวัดความเร็วคลื่นใน 2 ทิศทาง คือ แนวราบกับแนวดิ่ง การเตรียมตัวอย่างจะมีการเปลี่ยนระนาบการวางของตัวอย่าง คือวางทำมุม 0 องศา, 30 องศา, 45 องศา, 60 องศา ตามลำดับ ซึ่งทำให้ระนาบที่ตัว Bender element ฝังอยู่เปลี่ยนมุมตามไปด้วย โดยทำการเตรียมตัวอย่าง 2 วิธี คือ วิธีที่1 เตรียมตัวอย่างแบบปล่อยอิสระ (pluviation) และวิธีที่ 2 เตรียมตัวอย่างแบบบดอัด (Compaction) จากผลการทดสอบพบว่าพฤติกรรมของค่าโมดูลัสแบบเฉือน ในวิธี pluviation ความเร็วคลื่นความเค้นในแนวดิ่งจะเร็วกว่าที่วัดได้ในแนวราบ และค่าโมดูลัสแบบเฉือนในแนวดิ่ง (Gvh) มีค่ามากกว่าค่าโมดูลัสแบบเฉือนในแนวราบ (Ghh) โดยค่า Gvh มีค่าสูงกว่าประมาณ 10-30% และค่าโมดูลัสแบบเฉือน ในระนาบ 0 องศา, 30 องศา, 45 องศา และ 60 องศา มีค่าที่ใกล้เคียงกันในทรายสภาพหลวม ส่วนทรายในสภาพแน่นค่าโมดูลัสแบบเฉือนระนาบ 45 องศา จะมีค่าสูงกว่าระนาบ 0 องศา, 30 องศา และ 60 องศา ในวิธี compaction ค่าโมดูลัสแบบเฉือนในแนวดิ่ง (Gvh) มีค่าสูงกว่าค่าโมดูลัสแบบเฉือนในแนวราบ (Ghh) เช่นเดียวกัน โดยค่า (Gvh) มีค่าสูงกว่าประมาณ 10-50% โดยประมาณ ระนาบ 30 องศา และ 45 องศา จะมีค่าต่ำกว่าระนาบ 0 องศา และ 60 องศา ซึ่งความแตกต่างของค่าโมดูลัสแบบเฉือนที่ได้ เป็นผลเนื่องจากโครงสร้างภายในของทรายตามธรรมชาติ (inherent anisotropy)en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to investigate the influences of sample preparation and bedding plane orientation on shear wave velocity of sand. Test were conducted using the square odeometer. The shear wave velocity were propogated in horizontal and vertical direction. Samples were prepared using the air pluviation and dry compaction with their bedding planes were 0, 30, 45 and 60 degrees to the horizontal direction. From the result of the test it was found that the vertically logged shear modulus measured from pluviated sample is higher than in the horizontal one by approximately 10-30%. In loose pluviated sand the shear modulus from inclined sample are similar. However, the 45 degree inclined sample provided the higher shear modulus. The compacted sand, the vertical shear modulus (Gvh) is higher than the horizontal shear modulus (Ghh) by approximately 10-50%. It was found that samples having bedding plane of 30 degree and 45 degree have the lower the shear modulus.The difference of the shear modulus isthe result of the inherent anisotropy.en
dc.format.extent1714004 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1276-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแรงเฉือน (กลศาสตร์)en
dc.subjectแอนไอโซทรอปีen
dc.titleผลกระทบของแอนไอโซโทรปีเนื่องจากโครงสร้างและหน่วยแรงต่อค่าโมดูลัสแบบเฉือนของทรายen
dc.title.alternativeEffect of structure and stress induced anisotropy on shear modulus of sanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisortsupot@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1276-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Walawat.pdf1.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.