Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70374
Title: Ore reserve estimation by using a geostatistical tool at Heinda mine,Tanintharyi region,union of Myanmar
Other Titles: การประเมินปริมาณสำรองด้วยวิธีธรณีสถิติที่เหมืองเฮนดา เขตตะนาวศรี  ประเทศเมียนมาร์
Authors: Aye Min Tun -
Advisors: Pipat Laowattanabandit
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Pipat.L@Chula.ac.th
Subjects: Mine surveying
Tin mines and mining -- Berma
การสำรวจเหมืองแร่
เหมืองและการทำเหมืองแร่ดีบุก -- พม่า
Issue Date: 2019
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Heinda mine is one of major tin producers in Myanmar. The mine has been operated for over 100 years. The mine falls at Latitude 14° 8’ N and Longitude 98° 27’ E, approximately about 45 kilometers to the east of Dawei. The ore reserve is the principal factor of mining venture. The aim of this study is to improve the ore reserve estimation by using geostatistical method (ordinary kriging) compared with conventional method (polygonal method) In geostatistical evaluation, it involved variogram analysis, variogram modelling and kriging estimation. The exponential variogram modelling was used to calculate the ordinary kriging estimation. The results showed that the mineral resource by ordinary kriging method at Heinda mine indicates about 117,905 tons (SnO2) and the mineral resource by polygonal method is about 122,460 tons (SnO2). Furthermore, the mineable reserve of ordinary kriging method at Heinda mine indicates about 30,368 tons (SnO2) and the mineable reserve by polygonal method is about 32,349 tons (SnO2). This study is the new ore estimation of Heinda mine with geostatistical method (ordinary kriging). Therefore, the result of estimation may be taken in consideration for the better mining development and future’s plan at the study area.
Other Abstract: เหมืองเฮนดาเป็นผู้ผลิตดีบุกรายใหญ่ในประเทศเมียนมา เหมืองนี้มีอายุมากกว่า 100 ปี เหมืองตั้งอยู่ที่ 14° 8’ เหนือ และ ลองจิจูด 98° 27’ ตะวันออก ประมาณ 45 กิโลเม ตรทางด้านตะวันออกของเมืองทวาย ปริมาณสำรองแร่เป็นปัจจัยหลักในการทำธุรกิจเหมืองแร่ วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อปรับปรุงความถูกต้องการประเมินปริมาณสำรองสินแร่ด้วยวิธีธรณีสถิติ (วิธีคริกกิ้งธรรมดา) เทียบกับวิธีดั้งเดิม (วิธีโพลีกอน) ในการประเมินด้วยธรณีสถิติ มันเกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ทางแวริโอแกรม การ โมเดลแวริโอแกรม และการประเมินทางคริกกิ้ง การโมเดลแวริโอแกรมด้วยวิธีเอ็กโพเน้นเทียน ถูกนำมาใช้คำนวนในการประเมินแบบคริกกิ้งธรรมดา ผลลัพท์ที่ได้แสดงให้เห็นว่าการประเมิน ทรัพยากรแร่ที่เหมืองเฮนดาโดยวิธีคริกกิ้งธรรมดาประมาณ 117,905 ตัน (ดีบุก) และโดยวิธีโพลี กอน 122,460 ตัน (ดีบุก) สำหรับปริมาณสำรองแร่ที่สามารถทำเหมืองได้ที่เหมืองเฮนดา โดยวิธีคริกกิ้งธรรมดาประมาณ 30,368 ตัน (ดีบุก) และโดยวิธีโพลีกอน 32,349 ตัน (ดีบุก) การศึกษานี้ทำการประเมินปริมาณสำรองแร่ใหม่สำหรับเหมืองเฮนดาด้วยวิธีธรณีสถิติ (วิธีค ริกกิ้งธรรมดา) ทั้งนี้เพื่อนำผลลัพท์ที่ได้สำหรับการพัฒนาการทำเหมืองและการวางแผนใน อนาคตในพื้นที่การศึกษา
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2019
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Georesources and Petroleum Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70374
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.250
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2019.250
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6171213821.pdf5.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.