Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70691
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชนี เชยจรรยา-
dc.contributor.authorจิรวรรณ กาญจนานันท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-12T04:33:15Z-
dc.date.available2020-11-12T04:33:15Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.issn9746383507-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70691-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการวิวัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาที่มีการนำเสนอในเพลงไทยยอดนิยมของวัยรุ่น ศึกษาความบ่อยครั้งในการฟังเพลง การรับรู้ประโยชน์และความพึงพอใจจากการฟังเพลงไทยสากลของวัยรุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์กับความบ่อยครั้งในการฟังเพลงไทยสากลของ วัยรุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างความบ่อยครั้งกับความพึงพอใจจากการฟังเพลงไทยสากลชองวัยรุ่น ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรับรู้โยชน์กับความพึงพอใจจากการฟังเพลงไทยสากลของวัยรุ่น ในส่วนของการวิเคราะห์เนื้อหาได้คัดเลือกเพลงที่ติดอันดับเพลงยอดนิยมระหว่างเดือนสิงหาคม-เดือนตุลาคม 2540 จำนวน 20 เพลง และในส่วนการวิวัยเชิงสำรวจใช้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 430 คน เป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนิสิตนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ซึ่งประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ ผลการวิวัยมีดังนี้ 1. เนื้อหาของเพลงไทยยอดนิยมของวัยรุ่นทั้งหมดเกี่ยวข้องกับเรื่องความรัก แต่นำเสนอแตกต่างกันไป ได้แก่ ต้องการความรัก ความเข้าใจ การยอมรับ แสดงความรัก ความเห็นใจ ผิดหวัง ตัดพ้อต่อว่า งอนง้อคนรัก และสะท้อนให้เห็นลักษณะเฉพาะ หรือนิสัยใจคอของวัยรุ่น 2. การรับรู้ประโยชน์จากการฟังเพลงไทยสากลของวัยรุ่นมีความสัมพันธ์กับความบ่อยครั้งในการฟังวิทยุและชมโทรทัศน์ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับความบ่อยครั้งในการซื้อเทป/ซี.ดี 3. ความย่อยครั้งในการฟังเพลงไทยสากลมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจจากการฟังเพลงไทยสากลจากวิทยุ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจจากการพังเพลงไทยสากลจากโทรทัศน์และการ ชื้อเทป/ซี.ดี. 4. การรับรู้ประโยชน์จากการฟังเพลงไทยสากลของวัยรุ่นมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจจากการฟังเพลงไทยสากลชองวัยรุ่น-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research are analyze the content of Thai popular songs on air at three popular music radio stations between August- October 1997. And to investigate the frequency of their popular music exposure, perception of their utility and satisfaction, the relationship among factors, namely utility perception and Thai popular music exposure and satisfaction obtained, and perception of thai popular music utility and satisfaction that secondary and university students in Bangkok obtained, Questionnaires were used to collect data from 430 secondary and university students in Bangkok. Frquency, percentage, mean and Pearson’s Product Moment Correlation Coefficients were used to analyze data through SPSS/PC+. The results of research were as follows: 1. The content of all Thai popular songs were mainly concerning love. 2. Perception of songs utility was found to be correlated with secondary and university students’ exposure from radio and television but was not found to be correlated with frequency of cassette tapes or C.D. purchase. 3. Exposure to Thai popular songs from radio was found to be correlated with secondary and university students’ satisfaction however their satisfaction was not found to be correlated with exposure from television and cassette tapes or C.D. puchase. 4. Secondary and university students’ perception of utility of Thai popular songs was found to be correlated with their satisfaction with Thai popular songs.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเพลงไทย -- การใช้ประโยชน์en_US
dc.subjectวัยรุ่นen_US
dc.subjectความพอใจen_US
dc.subjectSongs, Thai -- Utilizationen_US
dc.subjectAdolescenceen_US
dc.subjectSatisfactionen_US
dc.titleเนื้อหาเพลงไทยยอดนิยม การรับรู้ประโยชน์ และความพึงพอใจจากการฟังเพลงไทยสากลของวัยรุ่นen_US
dc.title.alternativeThe content of Thai popular songs, perception of its utility and satisfaction among teenagersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPatchanee.C@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jirawan_ka_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ377.94 kBAdobe PDFView/Open
Jirawan_ka_ch1.pdfบทที่ 1250.19 kBAdobe PDFView/Open
Jirawan_ka_ch2.pdfบทที่ 21.26 MBAdobe PDFView/Open
Jirawan_ka_ch3.pdfบทที่ 3329.39 kBAdobe PDFView/Open
Jirawan_ka_ch4.pdfบทที่ 41.42 MBAdobe PDFView/Open
Jirawan_ka_ch5.pdfบทที่ 51.03 MBAdobe PDFView/Open
Jirawan_ka_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก919.18 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.