Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประคอง สุทธสาร-
dc.contributor.authorสาธิต ตนุวงษ์วิวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-08T11:20:15Z-
dc.date.available2021-01-08T11:20:15Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.issn9746313061-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71714-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางการเขียนความเรียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีความสามารถต่างกัน ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการทคลอง คือ นักเรียนโรงเรียนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพฯ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองที่ 1 จำนวน 40 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่มตามความสามารถ ได้รับการสอนแบบเน้นกระบวนการ และกลุ่มทดลอง กลุ่มที่ 2 จำนวน 40 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่มตามความสามารถ ได้รับการสอนแบบวิจารณ์งานเขียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถของการเขียนความเรียงในแต่ละกลุ่ม หาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความสามารถทางการเขียนระหว่างวิธีสอน 2 แบบ ด้วยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนภาษาไทยระดับสูง กลาง และต่ำ ที่เรียนด้วยการสอนแบบเน้นกระบวนการและแบบวิจารณ์งานเขียนมีความสามารถทางการเขียนไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบเน้นกระบวนการและแบบวิจารณ์งานเขียนมีความสามารถหางการเขียนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to compare the ability in Thai Writing Composition of Prathom Suksa Six students of 3 different levels of ability: high, medium and low at Chitralada School, Bangkok. The subjects were devided into 2 groups. The first experimental group of forty students of high, medium and low ability were taught by The Process Approach while the second experimental group of forty students of high, medium and low ability were taught by The Criticism Approach. The data were analized by using means, standard deviation and test of significant differences (t-test). The results indicated that: 1. Students' ability in Thai Writing Composition of high, medium and low ability levels taught by using The Process Approach and The Criticism Approach were not significantly different at the .05 level. 2. Students taught by using both of The Process Approach and The Criticism Approach scored significantly higher than before the experiment at the .05 level.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการเขียน -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
dc.subjectภาษาไทย -- การเขียน-
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถทางการเขียนความเรียงภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีความสามารถต่างกัน โดยได้รับการสอนแบบเน้นกระบวนการและแบบวิจารณ์งานเขียน-
dc.title.alternativeA Comparison of prathom suksa six students' ability in Thai writing composition with different ability taught by the process approach and the criticism approach-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineประถมศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sathit_ta_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ969.27 kBAdobe PDFView/Open
Sathit_ta_ch1_p.pdfบทที่ 11.43 MBAdobe PDFView/Open
Sathit_ta_ch2_p.pdfบทที่ 21.82 MBAdobe PDFView/Open
Sathit_ta_ch3_p.pdfบทที่ 31.06 MBAdobe PDFView/Open
Sathit_ta_ch4_p.pdfบทที่ 41.04 MBAdobe PDFView/Open
Sathit_ta_ch5_p.pdfบทที่ 51.29 MBAdobe PDFView/Open
Sathit_ta_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก10.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.