Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71721
Title: เครื่องให้ความร้อนแบบเหนี่ยวนำขนาด 4.2 kVA สำหรับให้ความร้อนเบื้องต้นแก่ลวดตัวนำอะลูมิเนียมตีเกลียว
Other Titles: A 4.2 kVA induction heater for aluminium strand conductor pre-heating
Authors: สุระพล เธียรมนตรี
Advisors: ยุทธนา กุลวิทิต
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: เครื่องให้ความร้อนแบบเหนี่ยวนำ
ความร้อน -- การนำ
Issue Date: 2538
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: บทความนำเสนอการออกแบบและสร้างเครื่องให้ความร้อนแบบเหนี่ยวนำขนาด 4.2 กิโลโวลต์แอมแปร์ สำหรับให้ความร้อนเบื้องต้นแก่ตัวนำอะลูมิเนียมตีเกลียวขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 มม. ให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 60 องศาเซลเซียสจากอุณหภูมิห้อง ในเวลา 6 วินาที ที่กำลังออก สูงสุด สำหรับใช้ในขบวนการเคลือบฉนวนสายไฟฟ้า วงจรอินเวอร์เตอร์เป็นวงจรกำธรแบบกึ่งบริดจ์ที่ใช้ทรานทิสเตอร์กำลังเป็นสวิตซ์ ออกแบบให้ทำงานแบบกำธรในภาคการสวิตซ์แรงดันศูนย์ ซึ่งจะเป็นการลดกำลังศูนย์เสียในการสวิตซ์ วงจรควบคุมได้รับการออกแบบให้สามารถปรับกำลังออกที่ชิ้นงานได้ โดยการปรับความถี่ในพิสัย 19.5 - 22.5 กิโลเฮิรตซ์ ซึ่งทำให้สามารกปรับค่ากำลังออกได้ในช่วง 100 - 30 เปอร์เซ็นต์ กำลังออกที่ชิ้นงานสูงสุดเท่ากับ 1,281 วัตต์ ประสิทธิภาหของขดลวด เหนี่ยวนำมีค่าเท่ากับ 64 เปอร์เซ็นต์ ค่าตัวประกอบกำลังของโหลดของวงจรอินเวอร์เตอร์มีค่าา เท่ากับ 0.54 ประสิทธิภาพของวงจรอินเวอร์เตอร์มีค่าเท่ากับ 95 เปอร์เซ็นต์ ค่าตัวประกอบกำลังด้ามเข้าเครื่องมีค่าเท่ากับ 0.66 ประสิทธิภาพรวมของเครื่องมีค่าเท่ากับ 54 เปอร์เซ็นต์
Other Abstract: The design approach and test results of a 4.2 kVA induction heater are presented. The equipment can be used to raise the temperature of aluminium strand conductor by 60 c above room temperature in 6 seconds for maximum output power. This heating procedure is required for insulation coating process of the aluminium strand. The diameter of the strand in this experiment is 15 mm. The inverter of this induction heater is implemented by the Half-Bridge Series Resonance Converter using power transistors as its switching devices. The switching loss is minimized by operating the transistors in the zero voltage switch resonant mode. The output power of the system can be controlled by varying the operating frequency of inverter. The control of the output power within the range of 100 - 30 % has been achieved by varying the operating frequencies from 19.5 to 22.5 kHZ. The maximum output power transfered to the strand is 1,281 watts. The efficiency of the induction coil is 64%. The power factor of the load driven by the inverter is 0.54. The efficiency of the inverter circuit is 95 %. The input power factor of the system is 0.66. Total efficiency of the system is 54 %.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมไฟฟ้า
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71721
ISSN: 9746313045
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surapon_th_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.13 MBAdobe PDFView/Open
Surapon_th_ch1_p.pdfบทที่ 1794.73 kBAdobe PDFView/Open
Surapon_th_ch2_p.pdfบทที่ 22.74 MBAdobe PDFView/Open
Surapon_th_ch3_p.pdfบทที่ 33.5 MBAdobe PDFView/Open
Surapon_th_ch4_p.pdfบทที่ 42.58 MBAdobe PDFView/Open
Surapon_th_ch5_p.pdfบทที่ 5775.83 kBAdobe PDFView/Open
Surapon_th_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.