Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72044
Title: การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ต่อต้านรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม (พ.ศ. 2491-2500)
Other Titles: Political movement against field Marshal Pibulsonggram's regine 1948-1057
Authors: สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ
Advisors: ธิดา สาระยา
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: ป. พิบูลสงคราม, จอมพล, 2440-2507
ควง อภัยวงศ์, 2445-2511
ปรีดี พนมยงค์, 2443-2526
กบฏบวรเดช
รัฐประหาร
ปฏิวัติ
พรรคประชาธิปัตย์ -- ประวัติ
พรรคการเมือง -- ไทย
คณะราษฎร์
ทหาร -- กิจกรรมทางการเมือง
กบฏเสนาธิการ
กบฏวังหลวง
กบฏแมนฮัตตัน
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
พรรคสหชีพ
ความขัดแย้งทางการเมือง
ไทย -- การเมืองและการปกครอง -- กรุงรัตนโกสินทร์, 2491-2500
Issue Date: 2532
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ต่อต้านรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ครั้งที่สอง ระหว่าง พ.ศ. 2491 ถึง 2500 ว่าเกิดขึ้นในเงื่อนไขความขัดแย้งทางความคิด เช่นไร และจะนำไปสู่การดำเนินการทางการเมืองเช่นไร ผลการศึกษาค้นพบว่า การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ต่อต้านรัฐบาลจอมพลแปลกนั้น ได้แบ่งเป็น3 ระยะ คีอ ระยะกึ่งเผด็จการ (พ.ศ.2491 -2494 ) ระยะเผด็จการ (พ.ค.2495-2497) และระยะฟื้นฟูประชาธิปไตย (พ.ศ.2498-2500 ) โดยความคิดทางการเมืองแบบอำนาจนิยมที่มีคณะรัฐประหารเป็นตัวแทนสนับสนุนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม แต่แนวคิดที่นำมาสู่การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ต่อต้านรัฐบาลก็คือ แนวคิดอนุรักษ์นิยม แนวคิดประชาธิปไตยพลเรือน และแนวคิดสังคมนิยม การต่อป้านรัฐบาลตามแนวคิดเหล่านี้ ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองสับสนยิ่งขึ้น จนในที่สุดเมื่อถึง พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็ได้อาศัยการเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐบาลเหล่านี้เป็นเครื่องมือในการล้มล้างรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม
Other Abstract: This dissertation studies the political movements against Field Marshal Pibulshonggram's second regime (1948-1957) concentrating on the terms of ideological conflicts, and how they affected politics. The result of research undertaken shows that the political movements against Field Marshal Pibulshonggram's government fell into three phases, namely: the quasi-dictatorial phase (1948-1951), the dictatorial phase (1952-1954) and the democratic revival phase (1955-1957). The political ideology which underpinned Field Marshal Pibulshonggram's government was that of authoritarianism, represented by the coup group. But the thinking or ideologies, which gave rise to opposition movements against the regime were. conservatism, civilian democracy, and socialism. Opposition to the regime along these lines of thought made the political situation increasingly confused until, in 1957, Field Marshal Srisdi Dhanarajata was able to turn these movements against the government to his advantage and topple Field Marshal Pibulshonggram's regime.
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ประวัติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72044
ISBN: 9745763638
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suthachai_yi_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ903.81 kBAdobe PDFView/Open
Suthachai_yi_ch1_p.pdfบทที่ 1867.15 kBAdobe PDFView/Open
Suthachai_yi_ch2_p.pdfบทที่ 24.46 MBAdobe PDFView/Open
Suthachai_yi_ch3_p.pdfบทที่ 34.7 MBAdobe PDFView/Open
Suthachai_yi_ch4_p.pdfบทที่ 47.32 MBAdobe PDFView/Open
Suthachai_yi_ch5_p.pdfบทที่ 54.29 MBAdobe PDFView/Open
Suthachai_yi_ch6_p.pdfบทที่ 63.67 MBAdobe PDFView/Open
Suthachai_yi_ch7_p.pdfบทที่ 7986.26 kBAdobe PDFView/Open
Suthachai_yi_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.