Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจรูญ มหิทธาฟองกุล-
dc.contributor.authorศุภชัย พจน์เลิศอรุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-02-10T07:10:26Z-
dc.date.available2021-02-10T07:10:26Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741304552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72210-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันได้มีการนำเครื่อง Reflectance Spectrophotometer ร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้ในการทำนายและแก้ไขสูตรสำหรับการทดลองย้อมสีตัวอย่าง ซึ่งโปรนกรมที่ใช้จะอาศัยทฤษฎีการวัดสีต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีที่มีความสำคัญในการทำนายสูตรและแก้ไขสูตรสี คือ ทฤษฎีของ KLUBELKA-MUNK แต่ในการทำนายและแก้ไขสูตรสีให้ได้มีประสิทธิภาพนั้น จะต้องควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ในการทดลองย้อมสีตัวอย่าง เพื่อให้มีความแม่นยำ ซึ่งจะส่งผลให้การทำนายและแกัไขสูตรสีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น โปรแกรม Supporting CCM ซึ่งเป็นระบบสนับสนุนการผสมสีในการฟอกย้อม ที่พัฒนาขึ้นจากโปรแกรมไมโครซอพ แอกเซส โดย วัตถุประสงค์ในงานวิจัยครั้งนี้ คือ 1) ด้องการในการปรับเปอร์เซ็นต์สีที่เครื่องคอมพิวเตอร์วัดสีทำนายให้ในครั้งแรกให้ผลการทดลองย้อมสีตัวอย่างนั้นมีความใกล้เคียงตัวอย่างสีที่ต้องการมากขึ้น 2) ลดอิทธิพลของความเข้มสีในแต่ละรุ่นการผลิตที่ใช้ซึ่งมีผลต่อการย้อมสีตัวอย่างโดยตรง 3) ต้องการข้อมูลเที่มเติมเกี่ยวกับการผสมสี โปรแกรม Supporting CCM ที่พัฒนาขึ้นนี้อาศัยเทคนิคการวิเคราะห์การถดถอยซึ่งใช้โปรแกรม SPSSช่วยในการคำนวณหาสมการในการปรับสูตรครั้งแรกให้ใกล้เคียงสูตรจริงมากขึ้น โดยที่การวัดผลงานวิจัยนี้ได้ทำการทดสอบโปรแกรม Supporting CCM โดยการทดลองย้อมสีตัวอย่าง 3 สี เพื่อให้ได้สีตามขึ้นตัวอย่างมาตรฐาน คือ เฉดสีแดงเข้ม เฉดสีแดง และ เฉดสีส้ม เปรียบเทียบระหว่าง การทดลองย้อมสีตัวอย่างโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์วัดสี การทำนายสูตรสี แล้วปรับสูตรตามปกติ กับ การทดลองย้อมสีตัวอย่างโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์วัดสี การทำนายสูตรสี แล้วปรับสูตรสีครั้งแรกโดยใช้โปรแกรม Supporting ก่อนปรับสูตรตามปกติ ซึ่งผลที่ได้ในการวิจัยครั้งนี้คือ จำนวนครั้งในการทคลองย้อมสีตัวอย่างเพื่อให้ได้สีเหมือนตามชิ้นตัวอย่างมาตรฐานของเฉคสีแดงเข้ม มีจำนวน 2 ครั้งเท่ากัน ในขณะที่ เฉดสีแดง และ เฉดสีส้ม มีจำนวนครั้ง ลดลงจาก 3 ครั้ง เป็น 2 ครั้ง รวมถึง ค่าความแตกต่างของสีเปรียบเทียบขึ้นตัวอย่างมาตรฐาน หรือ ค่า dE CMC2.1 ครั้งแรก นั้นถึงแม้เฉดสีส้ม จะเพิ่มขึ้นจาก 3.22 เป็น 4.21 แต่ เฉดสีแดงเข้ม ลดลง จาก 2.05 เป็น 1.34 และ เฉดสีแดง ลดลงจาก 2.28 เป็น 1.24 ซึ่งผลจากการทดสอบโปรแกรมนั้นที่ได้นั้นกล่าวโดยสรุปคือ อยู่ในเกณฑ์ที่น่าพอใจen_US
dc.description.abstractalternativeNow computer with reflectance spectrophotometer is used for color macthing and reformula that KLUBELKA-MUNK theory and color physic theory are basic. But the color macthing and reformula will be high efficiency and precision if only if process of sample dyeing is controlled. Therefore Supporting CCM program by development of microsoft access that is color matching support system in bleaching & dyeing in this thesis 1 has objective for 1) need to adjust 1 Predict formula for sample dyeing that will close to standard shade color. 2) reduce effect of the different strength with many lot of color. 3) need more information in sample dyeing. Regression technique by SPSS program that is used to help Supporting CCM program in this thesis , has objective for modification of 111 Predict formula’ s sample dyeing that will close to standard shade color. To evaluate this thesis sample dyeing are dyed for Dark red , red and orange standard-shade by Supporting CCM program testing and to be compare 1 “ Predict formula with its modification formula. For the result of three shade dyeing, while the quantity of sample dyeing for equalize standard color of Dark red shade has 2 times for 1 Predict formula with its modification formula sample dyeing , the quantity of red and orange shade are reducible form 3 times to 2 times . And first different color value between sample dyeing and standard color as first dE CMC2.1 of orange shade is increascible form 3.22 to 4.21 ,but first dE CMC2.1 is reducible form 2.05 to 1.34 for dark red shade and reducible form 2.28 to 1.24 for red shade . Finally result can be summary that is satisfied for this thesis.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการวัดสีen_US
dc.subjectสีย้อมและการย้อมสีen_US
dc.subjectสี -- การวิเคราะห์en_US
dc.titleการพัฒนาระบบสนับสนุนการผสมสีในการฟอกย้อมen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a colour matching support system in bleaching and dyeingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suphachai_ph_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ872.59 kBAdobe PDFView/Open
Suphachai_ph_ch1_p.pdfบทที่ 1734.16 kBAdobe PDFView/Open
Suphachai_ph_ch2_p.pdfบทที่ 22.3 MBAdobe PDFView/Open
Suphachai_ph_ch3_p.pdfบทที่ 33.17 MBAdobe PDFView/Open
Suphachai_ph_ch4_p.pdfบทที่ 41.46 MBAdobe PDFView/Open
Suphachai_ph_ch5_p.pdfบทที่ 5690.48 kBAdobe PDFView/Open
Suphachai_ph_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.