Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72420
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพล ดุรงค์วัฒนา-
dc.contributor.authorสากันย์ สุวรรณการ-
dc.date.accessioned2021-02-25T05:13:02Z-
dc.date.available2021-02-25T05:13:02Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745685151-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72420-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530-
dc.description.abstractการศึกษาฟังก์ชั่นการอยู่รอด (survival function) นั้น ทำได้ทั้งวิธีพาราเมตริก (para -metric) และวิธีนอนพาราเมตริก (nonparametric) ในการวิจัยครั้งนี้ ได้ศึกษาวิธีนอนพาราเมตริก 3 วิธี คือ วิธี Product-Limit (PL), วิธี Life-table (actuarial) และวิธี Cox's regression mode ในตัวอย่างที่มีค่าสังเกตไม่สมบูรณ์ที่เป็นแบบผสมของ Singly failure censored และ multiply time censored และในกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 2 กลุ่มตัวอย่างย่อย ในขนาดเท่ากัน เพื่อศึกษาดูว่า ค่ามัธยฐานการอยู่รอด (median survival time) ที่ประมาณจากฟังก์ชั่นการอยู่รอดของแต่ละวิธี และผลการทดสอบการเปรียบเทียบการแจกแจงการอยู่รอด (survival distribution) ของ 2 กลุ่มตัวอย่างย่อย จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ เมื่อจำนวนค่าสังเกตไม่สมบูรณ์ (censored observations) ในตัวอย่างเพิ่มขึ้นเป็น 10, 20 และ 30 เปอร์เซ็นต์ของขนาดตัวอย่าง ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลที่สร้างขึ้น (random number generation) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยให้ข้อมูลมีการแจกแจงแบบเอ็กโปเนนเชียล (exponential distribution) ด้วยพารามิเตอร์ λ= 0.10 และค่ามัธยฐานเท่ากับ 6.93 และขนาดตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามี 3 ขนาด คือ 10 , 30, 50 ในแต่ละตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ตัวอย่างย่อยกลุ่มละ 5, 15, 25 ตามลำดับ และในแต่ละตัวอย่างจะถูกกำหนดให้มีค่าสังเกตไม่สมบูรณ์ในตัวอย่างเท่ากับ 10 , 20 และ 30 เปอร์เซ็นต์ ของขนาดตัวอย่างโดยการสุ่ม ผลการศึกษาพบว่า ค่าประมาณมัธยฐานการอยู่รอดมีค่ามากกว่าค่ามัธยฐานจริงในทุก ๆ วิธี และมีค่าสูงมากขึ้นเมื่อจำนวนค่าไม่สมบูรณ์ในตัวอย่างเพิ่มมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกันใน 3 วิธีในแต่ละกลุ่มตัวอย่าง พบว่าวิธี Cox's regression model เป็นวิธีที่ให้ค่าประมาณมัธยฐานใกล้เคียงกับค่ามัธยฐานจริงมากที่สุด และวิธี Life-table ให้ค่าประมาณแตกต่างจากค่าจริงมากที่สุด แต่ก็มีค่าใกล้เคียงกับวิธี Product-Limit และสำหรับการทดสอบการเปรียบเทียบการแจกแจงการอยู่รอดของ 2 กลุ่มตัวอย่างย่อย โดยใช้ Cox-Mantel test พบว่าที่ α = 0.05 ผลการทดสอบมีการเปลี่ยนแปลง เมื่อตัวอย่างมีจำนวนค่าสังเกตไม่สมบูรณ์เพิ่มมากขึ้น เฉพาะตัวอย่างขนาด 10 ทั้งนี้เพราะว่า นำวิธีนอนพาราเมตริกมาใช้กับข้อมูลที่ทราบการแจกแจง แต่การศึกษานี้ก็เป็นประโยชน์ในด้านทฤษฎีการวิเคราะห์การอยู่รอดเป็นอย่างมาก สำหรับการศึกษาต่อไปควรจะศึกษากับข้อมูลจริงโดยเฉพาะข้อมูลทางด้านการแพทย์ ขนาดตัวอย่างในการศึกษาควรจะมากกว่าการศึกษาในครั้งนี้ (มากกว่า 50 ) จำนวนค่าสังเกตไม่สมบูรณ์ในตัวอย่างก็ไม่ควรจะมากกว่า 30 เปอร์เซนต์ของขนาดตัวอย่าง-
dc.description.abstractalternativeBoth nonparametric and parametric methods can be used to study the survival function. In this research, the three methods of nonparametric; Product-Limit (PL), Life-table (actuarial) and Cox's regression model were used to examine the two-sample problem with censored observations : singly failure and multiply time censored observations. This study aims to investigate the change of the estimated median survival time as well as to compare the survival distributions of two subgroups when the censored observations are increased by 10, 20, 30 percent of the sample size. The 3 sets of data with the sizes of 10, 30 and 50 which have the exponential distribution with parameter λ = 0.10 and median = 6.93 were generated by computer program. Each set was randomly divided into two equal subgroups ; subgroup 1 and subgroup 2. Thus each subgroup contains 5, 15 and 25 for the sizes of 10, 3C and 50, respectively. A sample in each group was randomly assigned to be censored data for 10, 20 and 30 percent of the sample size. The result of the research indicates that all of the estimated medians were greater than the true median (6.93). In addition, they would be increased through the increasing of the censored data. Among the three methods, the Cox's regression model yielded the best estimated median for the true value in every group of data, while the life-table method gave the most different. However, the life-table estimated medians were closed to those of the Product-Limit. Cox-Mantel test of the two survival distributions showed that there was significantly change only in the sample size 10 for a α= 0.05. This is because the distribution of data is known. This study could be useful for further study in real life especially in medical field. However, that tie sample size should be greater than the one in this study (> 50) but the censored data should not be greater than 30 percent of the sample size.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1987.148-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectสถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์-
dc.subjectการประมาณค่าพารามิเตอร์-
dc.subjectNonparametric statistics-
dc.subjectParameter estimation-
dc.titleวิธีนอนพาราเมตริก สำหรับการประมาณค่าฟังก์ชั่นการอยู่รอดในปัญหา 2 ตัวอย่างที่มีค่าสังเกตไม่สมบูรณ์-
dc.title.alternativeNonparametric methods for estimating survival function in the two-sample problem with incomplete observations-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสถิติ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSupol.D@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1987.148-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sagun_su_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ971.48 kBAdobe PDFView/Open
Sagun_su_ch1_p.pdfบทที่ 1945.69 kBAdobe PDFView/Open
Sagun_su_ch2_p.pdfบทที่ 2858.17 kBAdobe PDFView/Open
Sagun_su_ch3_p.pdfบทที่ 31.37 MBAdobe PDFView/Open
Sagun_su_ch4_p.pdfบทที่ 41.35 MBAdobe PDFView/Open
Sagun_su_ch5_p.pdfบทที่ 5717.64 kBAdobe PDFView/Open
Sagun_su_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.