Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7248
Title: การลดและขจัดความสูญเสียในอุตสาหกรรมสบู่
Other Titles: Loss reduction and elimination in soap industry
Authors: อภิชาติ ลิลิตการตกุล
Advisors: จันทนา จันทโร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: fiejjr@eng.chula.ac.th
Subjects: กรรมวิธีการผลิต
สบู่
การวิเคราะห์ข่ายงาน (การวางแผน)
การเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมสบู่ -- ไทย
Issue Date: 2540
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ลดและขจัดความสูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตสบู่ของโรงงานตัวอย่าง ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตของโรงงานคือ เวลาการทำงานของพนักงานและเครื่องจักรต่ำ รวมทั้งมีปริมาณพัสดุคงคลังในโรงงานมาก อันเนื่องมาจากความสูญเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต วิธีการในการลดและขจัดความสูญเสียคือ 1. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์กรรมวิธีกับกระบวนการผลิตสบู่ หลังจากนั้นทำการขจัด, รวบรวม, สับเปลี่ยน หรือทำให้ขั้นตอนต่างๆ ง่ายขึ้นเพื่อลดและขจัดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น 2. การใช้เทคนิคการวิเคราะห์การไหลกับกระบวนการผลิตสบู่ แล้วจัดตำแหน่งสถานีการผลิตและเส้นทางการไหลใหม่ให้เหมาะสม 3. การวิเคราะห์แผนภูมิกิจกรรมเชิงซ้อนของพนักงานผสมสีและกลิ่น เพื่อปรับปรุงการทำงานของพนักงานผสมสีและกลิ่น ผลจากการปรับปรุงคือ 1. พนักงานทำงานเพิ่มขึ้น 4.45% 2. เครื่องจักรทำงานเพิ่มขึ้น 5.76% 3. ปริมาณพัสดุคงคลังเพิ่มขึ้น 3.41% 4. ปริมาณเศษสบู่ที่ต้องนำเข้ากระบวนการแปรรูปใหม่ลดลง - 5.46% สำหรับเศษสบู่จากการซอยก้อนสั้น - 4.02% สำหรับเศษสบู่จากการปั๊ม - 4.59% สำหรับสบู่ที่ไม่ได้ขนาดเนื่องจากการห่อถุง - 2.52% สำหรับสบู่เสียเนื่องจากความสกปรก 5. ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น 10.53%
Other Abstract: Reduces and eliminates losses that occured in soap manufacturing process of the example factory. Problems that occured in soap manufacturing factory were low utilization of operators, low utilization of machines and high quantity of inventory in factory because of losses that occured in manufacturing process. Methods which were used to reduce and eliminate losses were 1. Using process analysis technique in soap manufacturing process, after that eliminate, combine, rearrange or simplify any steps to reduce and eliminate losses that occured. 2. Using flow analysis technique in every types of soap manufacturing process and repositioning manufacturing station for better flow line. 3. Analyzing multiple activity chart of color and odour mixing operators to improve efficiency of color and odour mixing operators. Results after improvement are 1. Increasing of operators utilization for 4.45% 2. Increasing of machine utilization for 5.76% 3. Increasing of inventory for 3.41% 4. Reduction of recycle soap - 5.46% for the rest of soap from short cut process - 4.02% for the rest of soap from pump process - 4.59% for the wrong size soap causing by bag-pack process - 2.52% for rejected soap causing by dirty 5. Increasing of production capacity for 10.53%.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7248
ISBN: 9746375555
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Apichart_Li_front.pdf616.74 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_Li_ch1.pdf224.49 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_Li_ch2.pdf266.97 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_Li_ch3.pdf318.15 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_Li_ch4.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
Apichart_Li_ch5.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open
Apichart_Li_ch6.pdf277.16 kBAdobe PDFView/Open
Apichart_Li_back.pdf8.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.