Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73903
Title: Determination of required mixing time in an agitated batch mixer using tracer technique
Other Titles: การหาเวลาที่จำเป็นของการผสมในถังผสมที่มีการกวน แบบไม่ต่อเนื่องด้วยเทคนิคสารติดตาม
Authors: Pipop Thamtharai
Advisors: Sasithorn Boon-Long
Nares Chankow
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: Mixing
การผสม
Issue Date: 1992
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The required mixing time in a standard configuration tank was measured using tracer technique both theradioactive and conductivity methods. The mixer was a flatbottom cylindrical vessel with 24 cm inside diameter and wasfilled with water up to a height of 24 cm. The majorparameters were : types of impeller (a 6 bladed openturbine, a 6 bladed disc turbine, and a 6 bladed 45 degreepitch turbine), rotation speeds of impeller (200 to 400rpm), positions of impeller (at 1/2 and 1/3 tank's diameterabove tank's bottom), and baffles. The results obtained from both methods showed the sametrend of required mixing time, but the conductivity methodshowed a little shorter required mixing time. There werethree combinations in which the shortest required mixingtime was obtained. They were mixers with 6 bladed openturbine located at 1/2 and 1/3 tank's diameter above tank'sbottom, at speed of 400 rpm, and with baffles installed. Theother was mixer with 6 bladed disc turbine located at 1/2tank's diameter above tank's bottom. Some additional works using radioactive tracertechnique in determining residence time of steady statecontinuous flow were conducted. Two systems were used forthe study, the continuous stirred tank and tubular vessel.
Other Abstract: ในงานวิจัยนี้ได้ทำการหาเวลาที่จำเป็นของการผสมในถังผสมที่มีการกวนแบบไม่ต่อเนื่องด้วยเทคนิคสารติดตามทั้งชนิดที่เป็นสารรังสีและสารละลายอิเล็กโทรไลต์ โดยใช้ถังผสมที่มีสัดส่วนตามมาตรฐาน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 24 ซม.และมีน้ำบรรจุอยู่สูง 24 ซม.เพื่อเปรียบเทียบผลที่ได้จากวิธีการทั้งสอง ตัวแปรที่สำคัญที่ใช้ในการศึกษาคือ ชนิดของใบกวนซึ่งเป็นแบบที่มีใบกวน 6 ใบ 3 ชนิด คือ แบบเปิดแบบติดบนจาน และแบบใบเอียง 45 องศา ความเร็วรอบของการกวน ในช่วง 200-400 รอบต่อนาทีตำแหน่งของใบกวน ที่ระยะความสูงจากก้นถัง 1/2 และ 1/3 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของถัง และอิทธิพลของแผ่นกั้น ในการวิจัยนี้พบว่า เวลาที่จำเป็นในการผสมในระบบดังกล่าวจากวิธีการทั้งสองมีแนวโน้มเหมือนกัน โดยค่าที่ได้จากวิธีการความนำไฟฟ้ามีค่าสั้นกว่าเล็กน้อย ระบบการผสมที่มีเวลาที่จำเป็นในการผสมสั้นที่สุดมี 3 แบบ คือถังผสมที่มีใบกวน 6 ใบแบบเปิด อยู่ที่ระยะความสูงเหนือก้นถัง 1/2 และ 1/3ของเส้นผ่านศูนย์กลางของถัง ความเร็วรอบในการกวน 400 รอบต่อนาทีและมีแผ่นกั้น อีกแบบหนึ่งคือถังกวนที่มีใบกวน 6 ใบ แบบติดตั้งบนจานอยู่ที่ระยะความสูง 1/3 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของถัง ความเร็วรอบในการกวน400 รอบต่อนาที และมีแผ่นกั้น นอกจากนี้ยังได้ทำการทดลองใช้เทคนิคสารติดตามชนิดที่เป็นสารรังสีในการหาเวลาที่อยู่ในระบบ (residence time) ที่มีการไหลผ่านในสภาวะคงตัว (steady state continuous flow)ในถังผสมที่มีลักษณะดังกล่าวข้างต้นและในท่อทรงกระบอกอีกด้วย
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1992
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73903
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pipop_th_front_p.pdf989.78 kBAdobe PDFView/Open
Pipop_th_ch1_p.pdf658.17 kBAdobe PDFView/Open
Pipop_th_ch2_p.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Pipop_th_ch3_p.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Pipop_th_ch4_p.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
Pipop_th_ch5_p.pdf638.34 kBAdobe PDFView/Open
Pipop_th_back_p.pdf861.78 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.