Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74300
Title: | ลีลาในงานร้อยแก้วของอังคาร กัลยาณพงศ์ |
Other Titles: | Style in Angkhan Kalayanapong's poetical prose |
Authors: | ธเนศ เวศร์ภาดา |
Advisors: | สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Suchitra.C@Chula.ac.th |
Subjects: | อังคาร กัลยาณพงศ์, 2469- -- กวีนิพนธ์ กวีนิพนธ์ไทย การแต่งร้อยแก้ว วรรณกรรมคำสอน ชาดก Angkhan Kalayanapong, 2469- -- Poetry Thai poetry Essay Didactic literature Jataka stories |
Issue Date: | 2533 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาลักษณะเด่นด้านลีลา และลักษณะการสืบทอด "ขนบ" ด้านลีลาจากวรรณคดีร้อยแก้วประเภทคำสอนและชาดกในงานร้อยแก้วของอังคาร กัลยาณพงศ์ ผลการวิจัยสรุปว่า งานร้อยแก้วของอังคาร กัลยาณพงศ์ มีลีลาที่เป็นลักษณะเด่นเฉพาะตัว ได้แก่ การไม่ใช้คำลักษณนาม การใช้กลุ่มคำที่มีขนาดยาว การเรียงลำดับคำในประโยค การสร้างจินตภาพของธรรมชาติเป็นต้น และมีลีลาอีกบางประการที่สืบทอด "ขนบ" จากวรรณคดีร้อยแก้วประเภทคำสอนและชาดก ได้แก่ การใช้คำซ้อน 4 พยางค์ การใช้สำนวนแปลจากภาษาบาลีและสำนวนโบราณการใช้ภาพพจน์ การสร้างสมดุลทางโครงสร้างภาษาการ เล่นเสียงสัมผัสคล้องจอง เป็นต้น ลีลาทั้งหมดนี้ชี้ให้เห็นว่า อังคารได้รักษาและสืบทอดคุณลักษณะของ "ร้อยแก้ว" ในความหมายดั้งเดิมไว้ คือ งานร้อยแก้วที่สอดร้อยลีลาเชิงคำสอนและพรรณนาผสมผสานกลมกลืนอย่างเหมาะเจาะงดงาม |
Other Abstract: | The main purpose of this study is to point out characteristics of style and literary convention in didactic literature and religious tales from Angkhan Kalaycnapong's poetical prose. The result of the study denotes that the style in Angkhan's poetical prose is of great prominence, for example, the intentional obliteration of noun classifiers, word orders in sentences, natural images. In addition, some characteristics of the style are inherited from literary convention in didactic literature and religious tales, such as four syllabus compounding words, Pall and ancient style of writing, parallelistic pattern and conventional alliteration All these characteristics reveal that Angkhan conserves and succeeds the traits of original “poetical prose” which is harmoniously and rhetorically composed of didactic and descriptive diction. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ภาษาไทย |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74300 |
ISBN: | 9745775401 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Dhanate_ve_front_p.pdf | 915.54 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dhanate_ve_ch1_p.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Dhanate_ve_ch2_p.pdf | 3.87 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Dhanate_ve_ch3_p.pdf | 18.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Dhanate_ve_ch4_p.pdf | 745.96 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Dhanate_ve_back_p.pdf | 813.72 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.