Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74984
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพียรศิริ วงศ์วิภานนท์ | - |
dc.contributor.author | สุชาดา เทวะผลิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-08-20T07:22:12Z | - |
dc.date.available | 2021-08-20T07:22:12Z | - |
dc.date.issued | 2531 | - |
dc.identifier.isbn | 9745689556 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74984 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ ประการที่หนึ่งเพื่อศึกษาและจำแนกประเภทของคำสแลงในภาษาไทย ประการที่สอง เพื่อหาข้อสรุปว่ามีกระบวนการสร้างคำสแลงที่เป็นระบบหรือไม่ โดยรวบรวมข้อมูลจากคอลัมน์ที่แสดงความคิดเห็นทางสังคมและการเมือง ในหนังสือพิมพ์รายวันประเภทปริมาณ 4 ฉบับ คือ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ หนังสือพิมพ์ดาวสยาม และหนังสือพิมพ์แนวหน้าในช่วงปีพุทธศักราช 2528 ผลการศึกษาพบว่า คำสแลงสามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสแลงแท้ และคำสแลงไม่คำสแลงแท้นั้นมีรูปที่ให้ความหมายเชิงสแลงได้โดยไม่ต้องพึ่งบริบท และสามารถจำแนกประเภทตามที่มาได้ 6 ประเภท คือ คำเปลี่ยนเสียงหรืออักขรวิธี คำผวน คำยืม คำกำหนดให้มีเสียง เลียนเสียงธรรมชาติ คำกำหนดให้สื่อความหมายด้วยเสียง และคำประสมขึ้นใหม่ ส่วนคำสแลงไม่แท้นั้น เกิดจากการนำคำที่ใช้กันในภาษาปกติมาใช้ในบริบทแล้วเกิดความหมายใหม่ เป็นความหมายเชิงสแลง ระบบการทำให้เกิดคำสแลงนี้ อาจนับได้ว่า เป็นส่วนหนึ่งของสมรรถนะภาษาของผู้พูดภาษาไทย เพราะผู้เขียนคอลัมน์ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำคำมาใช้เป็นสแลงและสร้างคำสแลงขึ้นใหม่ได้อย่างสม่ำเสมอตลอดเวลา แม้ในการสัมภาษณ์เขาจะบอกไม่ได้ชัดเจนว่าเขามีวิธีการอย่างไร | - |
dc.description.abstractalternative | This thesis has two objectives: firstly, to study and classily slangs in Thai and secondly to find out whether there are systematic formation processes for producing slangs. The data are collected from columns expressing social and political opinions in 4 sensational daily newspapers: THIRAJ, DAILY NEWS, DAWSIAM and NAEWNA during 1985. The study reveals that slangs can be categorized into two types: synthetic slangs and artificial slangs. Synthetic slangs can exhibit their slang meaning independently of their linguistic context. Lexicologically, these slangs can be classified into six types: words with lexical modification, phuan words, loan words, onomatopoeic words, words with sound symbolism and new compounds. Artificial slangs occur when one incongruently uses regular words in specific contexts. The fact that slangs can be produced almost on a daily basis in these newspapers can be taken as an evidence of the fact that slang usage of regular words ant slang formation are part of a native speaker's competence. Writers of the columns from which the data in this study are connected can always intersperse slangs in their work. Though they may not be able to explicitly list the slang formation processes they use. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ภาษาไทย -- ภาษาตลาด | en_US |
dc.subject | ภาษาไทย -- การสร้างคำใหม่ | en_US |
dc.subject | สื่อมวลชนกับภาษา -- ไทย | en_US |
dc.subject | หนังสือพิมพ์ -- ภาษา | en_US |
dc.subject | Thai language -- Slang | en_US |
dc.subject | Thai language -- Word formation | en_US |
dc.subject | Mass media and language -- Thailand | en_US |
dc.subject | Newspapers -- Language | en_US |
dc.title | คำสแลงในภาษาไทยจากหนังสือพิมพ์รายวัน | en_US |
dc.title.alternative | Thai slangs in daily newspapers | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ภาษาศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Peansiri.V@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suchada_de_front_p.pdf | 880.25 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchada_de_ch1_p.pdf | 1.25 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchada_de_ch2_p.pdf | 833.71 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchada_de_ch3_p.pdf | 1.95 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchada_de_ch4_p.pdf | 679.14 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchada_de_back_p.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.