Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83258
Title: | Glocalization of bronze drums in Southeast Asia: the case of bronze drums in state ceremonies of Thailand |
Other Titles: | กลองมโหระทึกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่โลกาภิวัตน์กับการแปลเพื่อท้องถิ่นในรัฐพิธีของประเทศไทย |
Authors: | Taixing Li |
Advisors: | Sunait Chutintaranond |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Issue Date: | 2022 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The Bronze Drum is a living specimen of Southeast Asian culture and a testimony to the development of Southeast Asian societies for more than 2,000 years. The Bronze Drum has been inherited dynamically hitherto, and the Thai state ceremonies still adopt it. However, current scholarship on Bronze Drums is confined chiefly to static studies, which caused the omission of the essence of glocalization. This thesis adopts the theory of glocalization, namely that the Bronze Drum is the result of the interpenetration of the global and the local, resulting in unique outcomes in a specific geographic location, and then applies an interdisciplinary research methodology that draws on multiple lenses from Western, Chinese, and Thai sources. In addition to this, the theoretical framework of this thesis argues for the Southeast Asianness of the Bronze Drum and the cultural identity of Yunnan and Guangxi as one with Southeast Asia at the civilizational dimension. This study devotes to answering the question: how are the Bronze Drums used in state ceremonies of Thailand? Based on an analysis of the dynamic glocalization of the Ayutthaya dynasty and the Rattanakosin dynasty, this study finds that the bronze drum is used as a musical instrument in Thai state ceremonies, and is a symbol of fertility and represents one of the cornerstones of Thai society. Eventually, while answering the question, there is a theoretical vista for glocalization in broader Southeast Asian Studies. |
Other Abstract: | กลองมโหระทึกเป็นตัวอย่างที่มีชีวิตทางวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นหลักฐานถึงการพัฒนาการของสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มากว่า ๒๐๐๐ ปี กลองมโหระทึกยังได้รับการสืบทอดอย่างไม่หยุดนิ่งมาจนถึงปัจจุบันนี้ ซึ่งก็ยังใช้ในรัฐพิธีของประเทศไทย แม้กระนั้น การศึกษาในปัจจุบันที่เกี่ยวกับกลองมโหระทึกจำกัดอยู่ที่การศึกษาแบบสถิตเป็นหลัก จึงทำให้เกิดการละเว้นสาระสำคัญในด้านโลกาภิวัตน์กับการแปลเพื่อท้องถิ่นของกลองมโหระทึก วิทยานิพนธ์นี้ใช้ทฤษฎีโลกาภิวัตน์กับการแปลเพื่อท้องถิ่น กล่าวคือ กลองมโหระทึกเป็นผลมาจากการสอดแทรกระหว่างโลกและท้องถิ่น ทำให้เกิดผลลัพธ์เฉพาะในตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ที่เฉพาะเจาะจง แล้วใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบสหวิทยาการซึ่งใช้แหล่งข้อมูลหลากหลายจากประเทศต่างๆในตะวันตก ประเทศจีนและประเทศไทย นอกจากนี้ กรอบทฤษฎีของวิทยานิพนธ์นี้ยังกล่าวถึงความเป็นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของกลองมโหระทึกและเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของมณฑลยูนนานและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงที่เป็นหนึ่งเดียวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในมิติทางอารยธรรม การศึกษานี้มุ่งตอบคำถามว่า กลองมโหระทึกใช้ในงานรัฐพิธีของประเทศไทยอย่างไร จากการวิเคราะห์ไดนามิกโลกาภิวัตน์กับโซนเพื่อท้องถิ่นของราชวงศ์อยุธยาและราชวงศ์รัตนโกสินทร์ การศึกษานี้พบว่ากลองมโหระทึกถูกใช้เป็นเครื่องดนตรีในรัฐพิธีของไทย และเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์และเป็นตัวแทนหนึ่งใน รากฐานที่สำคัญของสังคมไทย ในที่สุด ในขณะที่ตอบคำถาม มีมุมมองเชิงทฤษฎีสำหรับโลกาภิวัตน์กับโซนเพื่อท้องถิ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษาในวงกว้าง |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2022 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Southeast Asian Studies |
URI: | https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83258 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2022.332 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2022.332 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6488059020.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.