Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุกัญญา ทรัพย์ประเสริฐ-
dc.contributor.authorกีฏะ เพิ่มพูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-02-02T03:15:31Z-
dc.date.available2009-02-02T03:15:31Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8745-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชานาฏศิลป์และดนตรี ในด้าน 1) ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาเกี่ยวกับนาฏศิลป์และดนตรีพื้นเมือง 2) ด้านทักษะการปฏิบัติจังหวะ และการปฏิบัติท่ารำประกอบจังหวะพื้นเมือง 3) ด้านเจตคติต่อการเรียนวิชานาฏศิลป์และดนตรี ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถมระหว่างกลุ่มที่เรียนวิชานาฏศิลป์และดนตรีพื้นเมืองโดยใช้จังหวะเซิ้งและจังหวะตึ่งนง โดยกำหนดให้มีกลุ่มทดลองจำนวน 7 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มทดลองที่ 1 เรียนดนตรีจังหวะตึ่งนงก่อนเรียนนาฏศิลป์จังหวะตึ่งนง, กลุ่มทดลองที่ 2 เรียนดนตรีจังหวะตึ่งนงก่อนเรียนนาฏศิลป์จังหวะเซิ้ง, กลุ่มทดลองที่ 3 เรียนดนตรีจังหวะเซิ้งก่อนเรียนนาฏศิลป์จังหวะตึ่งนง, กลุ่มทดลองที่ 4 เรียนดนตรีจังหวะเซิ้งก่อนเรียนนาฏศิลป์จังหวะเซิ้ง, กลุ่มทดลองที่ 5 เรียนนาฏศิลป์จังหวะตึ่งนงก่อนเรียนดนตรีจังหวะตึ่งนง, กลุ่มทดลองที่ 6 เรียนนาฏศิลป์จังหวะเซิ้งก่อนเรียนดนตรีจังหวะเซิ้ง, กลุ่มทดลองที่ 7 เรียนนาฏศิลป์จังหวะตึ่งนง ก่อนเรียนดนตรีจังหวะเซิ้ง โดยใช้ระยะเวลาการทดลอง 18 สัปดาห์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ระเบียบวิธีทางสถิติประเภทการทดสอบความแปรปรวนทางเดียวผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชานาฏศิลป์ของนักเรียนในด้านความรู้ ด้านทักษะและด้านเจตคติของกลุ่มทดลองที่ 1 2 3และ 4 มีค่าเฉลี่ยคะแนนวิชานาฏศิลป์ด้านความรู้และด้านทักษะแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ส่วนด้านเจตคติของกลุ่มทดลองที่ 1 2 3และ 4 ไม่มีความแตกต่างกัน ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนวิชาดนตรีของนักเรียนในด้านความรู้ ด้านทักษะและด้านเจตคติ ของกลุ่มทดลองที่ 5 6 และ 7 พบว่ามีค่าเฉลี่ยด้านความรู้ที่ไม่แตกต่างกัน ด้านทักษะมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และด้านเจตคติมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to compare the achievement of the students studying Dance and Music in terms of 1) knowledge in Dance and Folklore Music, 2) skills in rhythmic practice and dance posture practice according to folklore music, 3) and attitude towards learning Dance and Music of the two groups of grade 2 students form Chulalongkorn University Demonstration School. The students participating in the study were divided into seven subgroups. Students in group 1 learned Tueng Nong Music prior to Tueng Nong Dance; group2 Tueng Nong Music prior to Serng Dance; group3 Serng Music prior to Tueng Nong Dance; group 4 Serng Music prior to Serng Dance; group 5 Tueng Nong Dance prior to Tueng Nong Music; group 6 Serng Dance prior to Serng Music; group 7 Serng Dance prior to Tueng Nong Music. The experiment lasted 18 weeks. The data analysis was based on One-way Analysis of Variance. It was found that the average Dance scores concerning knowledge and skill of the students in group 1, 2, 3 and 4 were statistically significant at .001 level. However, attitudes of students in those four groups do not differ statistically. The average Music scores of the students in groups 5, 6 and 7 were statistically significant in the aspects of skills and attitude at the level of .001 and .05, respectively. On the other hand, the average scores of these students do not differ statistically in the area of knowledge.en
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550en
dc.format.extent3002747 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม)-
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน-
dc.subjectนาฏศิลป์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
dc.subjectดนตรี -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
dc.titleการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชานาฏศิลป์และดนตรีของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ระหว่างกลุ่มที่เรียนวิชานาฏศิลป์ และดนตรีพื้นเมืองโดยใช้จังหวะเซิ้ง และจังหวะตึ่ง นง : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeA comparative study of the achievement of grade 2 students studying dance and that of those studying folklore music focusing on Serng and Tueng Nong at Chulalongkorn University Demonstration Schoolen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.subject.keywordนาฏศิลป์ ดนตรี นักเรียนประถมen
dc.subject.keywordการเรียนการสอน หลักสูตรen
Appears in Collections:Edu - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukanya.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.