Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9904
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบ็ญจรงคกิจ-
dc.contributor.authorสุลีวัลย์ เมธมโนศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-08-11-
dc.date.available2009-08-11-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743317759-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9904-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความต้องการแสวงหาความรู้ภาษาอังกฤษและพฤติกรรมเปิดรับชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร ตลอดจนศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต่างๆ ซึ่งได้แก่ ความต้องการแสวงหาความรู้ภาษาอังกฤษ พฤติกรรมเปิดรับชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ ความคาดหวังประโยชน์และความพึงพอใจที่ได้รับจากรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ รูปแบบของการวิจัยเป็นเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามที่เป็นคำถามปลายเปิดทั้งหมดเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนจำนวนทั้งสิ้น 448 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ ซึ่งประมวลผลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS/WINDOW 7.5 ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครมีความต้องการแสวงหาความรู้ภาษาอังกฤษในระดับปานกลาง เนื้อหานักเรียนที่สนใจแสวงหาความรู้มากที่สุดคือคำศัพท์ โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ด้วยการถามจากเพื่อนหรือคนรู้จักมากที่สุดรองลงมาคือ การชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์และการอ่านหนังสือที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษ 2. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครส่วนใหญ่มีการเปิดรับชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ รายการที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ อี ฟอร์ ทีนส์ รองลงมาคือ ฟุต ฟิต ฟอ ไฟ และเอ อี ไอ ฟอร์ ยู โดยมีความถี่ในการรับชมอยู่ในระดับปานกลางและลักษณะการรับชมอยู่ในระดับต่ำ 3. ความคาดหวังประโยชน์จากรายการและความพึงพอใจที่ได้รับจากรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับปานกลาง 4. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครที่มีอายุ ผลการเรียนวิชาภาษาอังกฤษในเทอมที่ผ่านมาและรายได้ของครอบครัวโดยเฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีความต้องการแสวงหาความรู้ภาษาอังกฤษแตกต่างกัน 5. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครที่มีเพศ ประเภทของโรงเรียนที่ศึกษาอยู่และระดับการศึกษาต่างกัน มีพฤติกรรมเปิดรับชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์แตกต่างกัน 6. ความต้องการแสวงหาความรู้ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมเปิดรับชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ 7. ความคาดหวังประโยชน์จากรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมเปิดรับชมรายการ 8. พฤติกรรมเปิดรับชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพึงพอใจที่ได้รับ 9.ความคาดหวังประโยชน์มีอิทธิพลในเชิงบวกต่อพฤติกรรมเปิดรับชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานคร 10.ความคาดหวังประโยชน์และพฤติกรรมเปิดรับชมรายการที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์มีอิทธิพลร่วมกันในเชิงบวกต่อความพึงพอใจที่ได้รับจากรายการของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to study English knowledge acquisition and the exposure of English teaching programs on television of high school students in Bangkok Metropolis including correlation among these variables, namely; English knowledge acquisition, exposure of English teaching programs on television, expectation and gratification obtained from the programs. This survey research used the questionnaire to collect multi-stage data from sampling of 448 persons. Frequencies, percentages, mean values, standard deviation, pearson product moment correlation coefficient and multiple correlation coefficient were analyzed in the statistical procedure. The data processing was run by SPSS 7.5 for Windows. Results were as follows: 1. The respondents acquired English knowledge at medium level. The highest acquired content was English vocabulary and the most three acquisition methods were: asking from friends or known persons, watching English teaching programs on television and reading English text books respectively. 2. Almost all respondents exposed to English teaching program on television. The most three popular programs were E for Teens, Fut Fit Fo Fai and A E I For You. The watching frequency was at medium level but the watching duration was at low level. 3. Respondents' expectation and gratification obtained from English teaching programs on television were at moderate level. 4. Respondents of different ages, English grades and family income groups showed different levels of English knowledge acquisition. 5. Respondents of different sexes, types of school and education levels showed different levels of exposure to English teaching program on television. 6. English knowledge acquisition was positively and significantly correlated with exposure of English teaching program on television. 7. Expectation was positively and significantly correlated with exposure of English teaching program on television. 8. Exposure of English teaching program on television was positively and significantly correlated with gratification obtained from viewing the programs. 9. Expectation was positively and significantly correlated to exposure of English teaching programs on television. 10. Expectation and exposure of English teaching programs on television were positively and significantly correlated to gratification obtained from viewing the programs.en
dc.format.extent850652 bytes-
dc.format.extent946043 bytes-
dc.format.extent1025841 bytes-
dc.format.extent831595 bytes-
dc.format.extent1498792 bytes-
dc.format.extent1140908 bytes-
dc.format.extent1051422 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโทรทัศน์เพื่อการศึกษาen
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectความคาดหวัง (จิตวิทยา)en
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen
dc.subjectการแสวงหาสารสนเทศen
dc.titleความต้องการแสวงหาความรู้ภาษาอังกฤษ ความคาดหวังประโยชน์และความพึงพอใจจากรายการ ที่ให้ความรู้ภาษาอังกฤษทางโทรทัศน์ของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeEnglish knowledge acquisition, expectation and gratifications obtained from English teaching programs on television among high school students in Bangkok Methopolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorYubol.B@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suleewon_Ma_front.pdf830.71 kBAdobe PDFView/Open
Suleewon_Ma_ch1.pdf923.87 kBAdobe PDFView/Open
Suleewon_Ma_ch2.pdf1 MBAdobe PDFView/Open
Suleewon_Ma_ch3.pdf812.1 kBAdobe PDFView/Open
Suleewon_Ma_ch4.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Suleewon_Ma_ch5.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Suleewon_Ma_back.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.