dc.contributor.advisor |
พิชัยศักดิ์ หรยางกูร |
|
dc.contributor.author |
ขนิษฐา เติมตฤษณา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
|
dc.date.accessioned |
2009-09-22T09:42:24Z |
|
dc.date.available |
2009-09-22T09:42:24Z |
|
dc.date.issued |
2539 |
|
dc.identifier.isbn |
9743322248 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11289 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 |
en |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึง หลักเกณฑ์และความสำคัญของการแบ่งแยกการอนุญาโตตุลาการภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้เกิดความชัดเจนและมีความเหมาะสมกับการใช้กฎหมายอนุญาโตตุลาการในประเทศไทย จากการศึกษาวิจัยพบว่า มาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2530 มีความไม่ชัดเจนกรณีการกำหนดคำนิยามอนุญาโตตุลาการต่างประเทศว่าหมายถึง อนุญาโตตุลาการที่กระทำการพิจารณาและชี้ขาดข้อพิพาททั้งหมดหรือโดยส่วนใหญ่นอกราชอาณาจักรไทย และคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมิได้มีสัญชาติไทย บทบัญญัติดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาในการตีความซึ่งจะนำไปสู่ปัญหาในทางปฏิบัติ เนื่องจากการกำหนดลักษณะการอนุญาโตตุลาการว่าเป็นภายในประเทศหรือต่างประเทศมีผลต่อการพิจารณากฎหมายที่จะนำมาบังคับกับการอนุญาโตตุลาการ อำนาจของศาลในการแทรกแซงการดำเนินกระบวนพิจารณา และการยอมรับและบังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ ผู้เขียนขอเสนอแนะว่า กฎหมายอนุญาโตตุลาการควรใช้โดยแยกเฉพาะเรื่องการค้าระหว่างประเทศออกจากเรื่องภายในประเทศ ตามอย่างกฎหมายแม่แบบ (UNCITRAL Model Law) ที่ประเทศส่วนใหญ่นำมาใช้ เพราะการอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศเป็นเหตุให้เกิดการบังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ ซึ่งมีวิธีการยอมรับและบังคับแตกต่างจากคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการภายในประเทศ ดังนั้น วิธีการแยกดังกล่าวจึงน่าจะเป็นทางออกที่ดีสำหรับปรับปรุงแก้ไขกฎหมายไทยให้มีความทันสมัย เป็นสากล และสามารถทัดเทียมกับนานาอารยประเทศได้ ภายใต้หลักการและเหตุผลของกฎหมายที่ต้องการส่งเสริมให้มีการทำอนุญาโตตุลาการทางพาณิชย์ระหว่างประเทศในราชอาณาจักรไทย |
en |
dc.description.abstractalternative |
This thesis aims to study rules and importance of classification of domestic and foreign arbitration in order to allow clarity and suitability in applying arbitration law in Thailand. The research reveals that Section 28 of the Arbitration Act B.E. 2530 is ambiguous in definition on foreign arbitration, which reads "an arbitration conducted wholly or mainly outside Thailand and any parly thereto is not of Thai national". Such provision causes problems on interpretation which, in practice, results in problems because domestic and foreign definition has effects on applicable law, power of the court to intervene the process, and the recognition and enforcement of foreign arbitral awarcs. The author proposes that arbitration law should be applied in a separate manner to govern international trade matter as appears in the Model Law (UNCITRAL Model Law), which is adopted in certain countries. As international commercial arbitration causes the enforcement of foreign arbitral awards which has a different method to recognition and enforcement of awards from that of domestic arbitral awards. Therefore, the separation should be a good resolution in amending Thai law to modernize, universalize and compete with those of developed countries in pursuant of the concept and reasoning of the law for promoting international commercial arbitration in Thailand. |
en |
dc.format.extent |
981685 bytes |
|
dc.format.extent |
814416 bytes |
|
dc.format.extent |
971541 bytes |
|
dc.format.extent |
1450976 bytes |
|
dc.format.extent |
1107906 bytes |
|
dc.format.extent |
797152 bytes |
|
dc.format.extent |
1088448 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
อนุญาโตตุลาการ |
en |
dc.subject |
อนุญาโตตุลาการ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ |
en |
dc.subject |
อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ |
en |
dc.subject |
การชี้ขาดข้อพิพาท |
en |
dc.subject |
การแบ่งแยกอำนาจ -- อนุญาโตตุลาการ |
en |
dc.title |
แนวความคิดในการแบ่งแยกอนุญาโตตุลาการภายในประเทศ และอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ |
en |
dc.title.alternative |
Legal concept on classification of domestic and foreign arbitration |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
นิติศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
นิติศาสตร์ |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Phijaisakdi.H@chula.ac.th |
|