DSpace Repository

การออกแบบและสร้างตัวควบคุมเชิงเลข สำหรับงานควบคุมทางอุตสาหกรรมแบบต่อเนื่อง

Show simple item record

dc.contributor.author สมบูรณ์ จงชัยกิจ
dc.contributor.author กฤษดา วิศวธีรานนท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
dc.date.accessioned 2006-08-25T11:47:07Z
dc.date.available 2006-08-25T11:47:07Z
dc.date.issued 2532
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2200
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการออกแบบและสร้างตัวควบคุมเชิงเลขสำหรับงานควบคุมทางอุตสาหกรรมแบบต่อเนื่อง ซึ่งอาจนำไปพัฒนาในเชิงการค้าได้ในอนาคต ตัวควบคุมเชิงเลขที่ออกแบบเป็นชนิดที่ผู้ใช้สามารถโปรแกรมโครงสร้างการควบคุมได้เอง โดยมีรายละเอียดดังนี้คือ ซีพียูที่ใช้เป็นไมโครโปรเซสเซอร์ Intel 8088 ขนาด 16 บิท ทำงานที่ความถี่ 5 เมกกะเฮร์ท โดยมีสัญญาณขาเข้าประกอบด้วยสัญญาณอนาลอค 1-5 V[subscript dc] จำนวน 5 สัญญาณ และสัญญาณดิจิตัลจำนวน 3 สัญญาณ สัญญาณออกประกอบด้วยสัญญาณอนาลอค 4-20 mA[subscript dc] 1 สัญญาณ 1-5 V[subscript dc] 2 สัญญาณ และสัญาณดิจิตัลจำนวน 3 สัญญาณ มีฟังค์ชันในการควบคุมจำพวกคณิตศาสตร์ ตรรก พื้นฐาน และ PID ซึ่งสามารถนำมาโปรแกรมกำหนดรูปแบบการควบคุมให้เป็นแบบที่ซับซ้อนจำพวก Cascade Feedback-feedforward Ratio ฯลฯได้ โปรแกรมกำหนดรูปแบบการควบคุมใช้ภาษาคล้ายภาษาแอสแซมบลี้ ตัวควบคุมเชิงเลขที่สร้างขึ้นได้นำไปทดสอบกับโปรเซสจริงในห้องปฏิบัติการ โดยมีรูปแบบการควบคุม 2 แบบ คือ การควบคุมป้อนกลับแบบลูปเดียวและการควบคุมแบบ Cascade เวลาในการทำงานแต่ละรอบมีค่าเท่ากับ 8 และ 24 ms. ตามลำดับ ตัวควบคุมดังกล่าวสามารถนำไปดัดแปลงเป็นตัวการควบคุมที่ซับซ้อนได้ถึง 8 ลูป การวิจัยที่จะทำต่อไปได้แก่การออกแบบวงจรพิมพ์ใหม่ให้มีขนาดเล็กลง การทดสอบความทนทานในโรงงานเพื่อหาจุดอ่อนของวงจรสำหรับการแก้ไข การเขียนโปรแกรมส่วนติดต่อกับไมโครคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรม Mneumonic Compiler และการพัฒนาไมโครคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องปรับตั้งค่าของ PID (PID Controller Tuning) en
dc.description.abstractalternative This research is the design and construction of digital controller for continuous industrial process which can be developed to be a commercial product in the future. The developed digital controller is the one that user can program the control configuration. The 16-bit Intel 8088 general purpose microprocessos runs at 5 MHz is setlected as the CPU. This digital controller can handle 5 analog inputs (1-5 V[subscript dc]), 3 digital inputs, 3 analog outputs (on 4-20 mA[subscript dc] and the others 1-5 V[subscript dc]) and 3 digital outputs. Control functions are arithmetic, logical, basic and PID. With these functions, the complex controls such as cascade, feedback-feedforward, ratio etc. can be implemented. Assembly-like language was chosen for control configuration programming. Single-loop feedback control and cascade control are tested with the process plant model in the laboratory. The results have proved to be satisfactory with run time of 8 ms./cycle and 24 ms./cycle, respectively. This controller can,with some modifications, controls 8 complex controls. The future research will concern: re-design the printed circuit boards to reduce the controller size, endurance tests in industrial environment to find its weak points and to improve the design, develop the microcomputer interface, mneumonic compiler and using microcomputer as PID controller tuner. en
dc.description.sponsorship ทุนส่งเสริมการวิจัยวิศวกรรมศาสตร์ en
dc.format.extent 27309359 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การควบคุมอัตโนมัติ en
dc.subject ระบบควบคุมเชิงตัวเลข en
dc.subject อุตสาหกรรม--การควบคุมการผลิต en
dc.title การออกแบบและสร้างตัวควบคุมเชิงเลข สำหรับงานควบคุมทางอุตสาหกรรมแบบต่อเนื่อง en
dc.title.alternative Design and construction of digital controller for continuous industrial process en
dc.type Technical Report en
dc.email.author feescc@kankrow.eng.chula.ac.th
dc.email.author Krisada.V@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record