Eng - Research Reports: Recent submissions

  • ชาตรี ศรีไพพรรณ; กฤษดา วิศวธีรานนท์; สมชาย จิตะพันธ์กุล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม 2 ชนิด คือ เครื่องตั้งเวลาที่โปรแกรมได้ และระบบวัดและบันทึกค่าอุณหภูมิ เครื่องตั้งเวลาที่โปรแกรมได้ใช้ซีพียู เบอร์แซด-80 มีรอม 2 กิโลไบท์ และแรม 1 กิโลไบท์ ...
  • กฤษดา วิศวธีรานนท์; ชาตรี ศรีไพพรรณ; โคทม อารียา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525)
    การวิจัยนี้ มุ่งที่จะวิจัยและพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์เชิงเลข สำหรับไว้ใช้ในห้องปฏิบัติการอิเล็คตรอนิคส์ ใช้ประกอบการเรียนการสอนและปฏิบัติการเชิงเลข เป็นเครื่องต้นแบบสำหรับใช้ในการผลิตต่อไป เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ได้ทดลอ ...
  • กฤษดา วิศวธีรานนท์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531)
    รายงานการวิจัยนี้ กล่าวถึงรายละเอียดการพัฒนาเครื่องควบคุมลิฟท์โดยสารโดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นแกนกลางในการควบคุม จุดประสงค์หลักคือ การสร้างเครื่องควบคุมไมโครคอมพิวเตอร์ ใช้แทนเครื่องควบคุมแบบรีเลย์เดิม ให้สามารถใช้งานได ...
  • ยุทธนา กุลวิทิต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527)
    ได้มีการศึกษาหลักการของระบบติดตามดวงอาทิตย์ ทางโคจรของดวงอาทิตย์เทียบกับผู้สังเกตุบนโลก ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ได้มีการทดลองสร้างระบบติดตามดวงอาทิตย์สำหรับเซลแสงอาทิตย์แบบแผงราบ โดยใช้ระบบควบคุมแบบวงรอบเปิด และได้ทดลองวัดความคล ...
  • ยุทธนา กุลวิทิต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537)
    ไฟแสงสว่างแบบต่อเนื่อง เป็นไฟแสงสว่างที่ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาด 36 วัตต์ ซึ่งสามารถปิด หรือเปิดใช้ได้ตามความต้องการของผู้ใช้โดยไม่ขึ้นกับสภาพของไฟฟ้ากระแสสลับจากสายส่ง ตราบเท่าที่ยังมีพลังงานคงเหลืออยู่ในแบตเตอรี ...
  • ยุทธนา กุลวิทิต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529)
    เครื่องจ่ายไฟตรงขนาด 5 kw ที่สร้างขึ้นจะเป็นแบบที่ไม่มีวงจรคงค่าแรงดัน แรงดันออกของเครื่องจ่ายไฟตรงนี้สามารถปรับได้ระหว่าง 0 ถึง 500 โวลท์ โดยการแปรค่าแรงดันของไฟฟ้ากระแสสลับด้านขาเข้า เครื่องจ่ายไฟตรงจะให้กระแสออกสูงสุดได้ ...
  • ชัยโรจน์ คุณพนิชกิจ; วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531)
    การควบคุมตำแหน่งของปลายแขนหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเป็นหัวใจของการออกแบบระบบควบคุมทั้งหมด โดยจะพิจารณาการเคลื่อนที่ที่ปลายแขนในลักษณะจุดต่อจุดหรอ Point-to-Point เป็นหลัก ระบบควบคุมแบบย้อนกลับหรือแบบปิดที่จะนำมาควบคุมการเคลื่อนท ...
  • วีระยุทธ ศรีธุระวานิช; รัชทิน จันทร์เจริญ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาหุ่นยนต์ที่มีศักยภาพสูงสามารถทำงานในสภาพแวดล้อมทั่ว ๆ ไป โดยพัฒนาหุ่นยนต์ที่สามารถตรวจหาวัตถุเป้าหมายในสภาพแวดล้อมและสามารถเดินไปหยิบวัตถุนั้น ซึ่งเป็นการเริ่มต้นการทำงานที่ซับซ้อนต่อไป ...
  • สุนทร บุญญาธิการ; บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539)
    วัตถุประสงค์หลักของโครงการนี้คือ การวิจัยเพื่อให้ได้มาซึ่งตัวแปรและอิทธิพลของตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการนำประโยชน์จากระบบธรรมชาติมาใช้ในการออกแบบอาคารประหยัดพลังงานในสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้นรวมถึงแนวทางในการประยุกต์ข้อมูลท ...
  • สง่า ตั้งชวาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546)
    ในขบวนการวางแผนเพื่อพัฒนาบ่อเหมืองเปิด ต้องมีขั้นตอนการประเมินผลลัพธ์ของการเปิดบ่อเหมืองที่กำหนดขีดจำกัดโครงร่างของขอบบ่อสุดท้ายที่เหมาะที่สุด การเลือกวิธีการวิเคราะห์มีการนำเสนอแบบจำลองหลายรูปแบบ ตั้งแต่การใช้แบบจำลองเชิงสองมิติ ...
  • สง่า ตั้งชวาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544)
    งานขุดเจาะแหล่งก่อสร้างมีการดำเนินงานทั้งบนพื้นผิวดินและใต้พื้นผิวดิน หลักการที่สำคัญของการประเมินเสถียรภาพงานขุดเจาะมีการทบทวน ผู้วิจัยได้เสนอแนะวิธีการที่ใช้แก้ปัญหาในภาคสนามเชิงความเชื่อถือได้ของแหล่งข้อมูลต้นทาง ...
  • สง่า ตั้งชวาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    การวางแผนใช้วัตถุระเบิดในงานขุดเจาะของแหล่งก่อสร้างได้มีการทบทวน จากนั้นนำข้อเด่นของผลลัพธ์ที่ได้มาประยุกต์กับงานภาคสนามของประเทศไทย ปัจจัยหลักของการวางแผนทั้งระบบ มี 3 ส่วนหลัก ได้แก่ ความปลอดภัยในการทำงาน การป้องกันเชิ ...
  • สง่า ตั้งชวาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543)
    การออกแบบระเบิดหินที่มีการตัดเนินเขาแบบขั้นบันไดได้มีการทบทวน จากนั้นนำข้อเด่นของผลงานที่นำเสนอมาประยุกต์กับงานภาคสนามของประเทศไทย แบบจำลองผังระเบิดหินรวมทั้งโปรแกรมสำเร็จรูปที่ออกแบบโครงการนี้ค้นคว้ามี 2 แบบ ทั้งสองแนวท ...
  • สง่า ตั้งชวาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541)
    การจำลองแบบการขุดเจาะที่นำเสนอสำหรับการวิจัยโครงการนี้ เป็นการวิเคราะห์หาความเป็นไปได้ของการพังทลายสำหรับมวลสารของความลาดเอียงบนพื้นผิวดิน หรือของมวลสารใต้ฐานรากระดับตื้น วิธีการสำหรับการหาเสถียรภาพจะใช้การสมดุลเชิงขีดจำ ...
  • สง่า ตั้งชวาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540)
    งานการพัฒนาเหมืองหินขนาดใหญ่มักจะทำการระเบิดหินเป็นแบบขั้นบันได เหตุผลหลักเพราะว่า การระเบิดหินแบบนี้ให้ประสิทธิภาพของการระเบิดสูงสุด ประหยัด และสามารถควบคุมผลกระทบและความเสียหายให้อยู่ในขีดจำกัดที่ดีกว่าการระเบิดหินด้วยวิธีอื่น ...
  • สง่า ตั้งชวาล; ฉดับ ปัทมสูต (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539)
    การประยุกต์วิธีการหาค่าเฉลี่ยที่แท้จริงของระนาบความไม่ต่อเนื่องของมวลหินในภาคสนามได้ถูกนำเสนอเพื่อวิเคราะห์เชิงสถิติของความถูกต้องแม่นยำของ spherical distribution data ทฤษฎีเบื้องต้นของการสั่นสะเทือนและหลักการคำนวณในภาวะ ...
  • สง่า ตั้งชวาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538)
    การประเมินเสถียรภาพของเหมืองเปิด และอุโมงค์ใต้ดิน สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานเปิดหน้าดิน/หิน งานระเบิดเหมืองหิน และการขุดเจาะอุโมงค์ใต้ดิน เกณฑ์ที่ใช้ในการกำหนดสำหรับการวิเคราะห์เสถียรภาพโครงการที่อยู่ในขั้นวางแผน ...
  • สง่า ตั้งชวาล (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538)
    ทฤษฎีเบื้องต้นของคลื่นพัลส์ที่เกิดเนื่องจากการระเบิดหินในงานวิศวกรรม ได้ถูกนำมาพิจารณาทบทวนกลไกหลายรูปแบบของภาวะความเค้นเนื่องจากความพันจากวัตถุระเบิดเพื่อหา solutions ที่เหมาะสมที่สุด การจำลองแบบของระเบิดหิน bench blasting ...
  • นิวัตต์ ดารานันท์; ทักษิณ เทพชาตรี; ต่อตระกูล ยมนาค (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525)
    การวิจัยในเรื่องประสิทธิภาพทางโครงสร้างของอาคารตามคณะต่างๆ ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีอายุการใช้งานตั้งแต่สองปีขึ้นไป ได้กระทำโดยมีความมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบโครงสร้างและปัญหาอันเกี่ยวกับการทรุดตัวของอาคาร ตลอดถึงการแตกร้าว ...
  • ทักษิณ เทพชาตรี (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532)
    การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิธีการวิเคราะห์อย่างง่าย เพื่อหาค่าการกระจายแรงกระทำด้านข้างสำหรับโครงข้อแข็งรูปกล่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่สามารถแปรเปลี่ยนขนาดตามความสูงรวมถึงแรงกระทำด้านข้างที่มีลักษณะสมมาตรและไม่สมมาตร ...