DSpace Repository

ท่าทีของสื่อมวลชนต่อโครงการก่อสร้างเขื่อนพลังน้ำ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีเขื่อนน้ำโจน เขื่อนแก่งกรุง เขื่อนปากมูล

Show simple item record

dc.contributor.advisor จุมพล รอดคำดี
dc.contributor.author เยาวดา ตฤษณานนท์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2013-08-14T12:39:12Z
dc.date.available 2013-08-14T12:39:12Z
dc.date.issued 2535
dc.identifier.isbn 9745813591
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35292
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 en_US
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเข้าใจถึงท่าทีของสื่อมวลชนที่มีต่อโครงการก่อสร้างเขื่อนพลังน้ำของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยใช้กรณีศึกษาโครงการก่อสร้างเขื่อนพลังน้ำของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 3 กรณี และอาศัยการวิเคราะห์เนื้อหาจากเอกสารสื่อสิ่งพิมพ์เป็นหลัก ใช้แนวคิดด้านการตลาดและทฤษฎีการกำหนดวาระ เป็นแนวทางในการวิเคราะห์ ผลการวิจัยมีดังนี้ จากการศึกษาวิจัยพบว่า (1) สื่อมวลชนมีนโยบายมุ่งเน้นข่าวตามประเด็นที่ประชาชนให้ความสนใจ โดยพิจารณาคุณค่าของข่าวในแง่ความขัดแย้งซึ่งเป็นข่าวเชิงลบ เป็นหลักสำคัญและเสนอในแบบเร้าอารมณ์ เพื่อตอบสนองความสนใจของตลาดผู้อ่าน (2) จุดขายที่สื่อมวลชนเลือกเสนอคือประเด็นความขัดแย้งในการคัดค้านเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเสนอในแบบเร้าอารมณ์ เพื่อเพิ่มจุดขายให้เด่น และดึงดูดความสนใจของผู้อ่านได้ทุกส่วนของตลาดข่าวสาร (3) รูปแบบการนำเสนอเนื้อหาของสื่อมวลชน มีการเสนอทุกรูปแบบ ทั้งบทความ ข่าว จดหมายจากผู้อ่าน บทนำ สกู๊ปข่าวพิเศษ และคอลัมน์ซุบซิบ โดยมีเนื้อหาคัดค้านการสร้างเขื่อน
dc.description.abstractalternative The objective of this research was to study the position of mass media regarding hydro power plant projects under the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT). Discussions were based on three case studies of the EGAT’s projects. Data were obtained primarily from content analyses of print media. They were then analysed using marketing concepts and agenda-setting theory. Research findings suggest the following : (1) Mass media tended to emphasize issues that interested the public, using the conflict element as a main criterion. These issues were presented sensationally to satisfy all readers. (2) conflicts regarding natural resource and environmental conservations are main selling points which were, again, presented sensationally to capture the attention of all sorts of audiences in the news market. (3) Mass media presented their opposition to the dam construction in vanous formats including articles, news stories, readers’ letters, editiorials, special news scoops and gossip columns.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject สื่อมวลชน
dc.subject ข่าวสาร
dc.subject เขื่อนน้ำโจน
dc.subject เขื่อนแก่งกรุง
dc.subject เขื่อนปากมูล
dc.title ท่าทีของสื่อมวลชนต่อโครงการก่อสร้างเขื่อนพลังน้ำ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีเขื่อนน้ำโจน เขื่อนแก่งกรุง เขื่อนปากมูล en_US
dc.title.alternative The positioning of mass media on hydro power plant project of the electricity generation authority of Thailand : A case study of Namchon, Kaeng Krung and Pakmun Dam en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การสื่อสารมวลชน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record