DSpace Repository

ภาพพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือนและศักยภาพของการประหยัดพลังงานตามมาตรฐานฉลากประหยัดไฟของประเทศไทย : กรณีศึกษานครเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

Show simple item record

dc.contributor.advisor วีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์ en_US
dc.contributor.author วัฒนชัย กลีบรัง en_US
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย en_US
dc.date.accessioned 2015-08-21T09:30:49Z
dc.date.available 2015-08-21T09:30:49Z
dc.date.issued 2557 en_US
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44658
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ได้ใช้ข้อมูลจากการสำรวจความต้องการของการใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนจาก 5 เขต 31 หมู่บ้าน ในแขวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว โดยการใช้แบบจำลองการใช้สุดท้าย (end use model) ผสมผสานแบบจําลองทางเศรษฐมิติ (econometric models) เพื่อทำการพยากรณ์และวิเคราะห์ภาพอนาคตความต้องการของการใช้ไฟฟ้าทั้งภายใต้สถานการณ์ปกติ (Baseline case) และศักยภาพของลดการใช้ไฟฟ้าจากการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานฉลากประหยัดไฟของประเทศไทย (Efficiency case) ซึ่งกำหนดเป็นการเปลี่ยนการใช้งานของเครื่องปรับอากาศและหลอดไฟฟ้า ภายในกรอบเวลาตั้งแต่ปีค.ศ. 2013 - 2030 โดยโครงสร้างของครัวเรือนนั้นเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความต้องการของการใช้พลังงานไฟฟ้า ภายใต้สถานการณ์ปกติ (Baseline case) ความต้องการของการใช้ไฟฟ้าโดยรวมของเวียงจันทน์นั้นได้เพิ่มขึ้นจาก 593 GWh ในปี ค.ศ. 2013 เป็น 964 GWh ในปีค.ศ.2030 หรือคิดเป็นร้อยละ 62.5 ซึ่งในรูปแบบของการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ (Efficiency case) จะสามารถลดการใช้ไฟฟ้าโดยรวมในปีค.ศ. 2030 ได้ถึง 147 GWh คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.2 โดยแบ่งเป็นการลดการใช้ไฟฟ้าจากเครื่องปรับอากาศ 117 GWh คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12.1 และการลดการใช้ไฟฟ้าจากการใช้หลอดไฟฟ้า 30 GWh คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.1 ซึ่งนอกเหนือจากนั้นแล้วเมื่อพิจารณาจากการเปลี่ยนมาใช้เครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพและการเปลี่ยนเป็นการให้แสงสว่างในรูปแบบใหม่อย่างการเปลี่ยนเป็นหลอด LED แล้วจะสามารถลดการใช้ไฟฟ้าโดยรวมเพิ่มขึ้นอีกได้ถึง 42 GWh หรือมีการใช้ไฟฟ้าลดลงร้อยละ 5.10 ในปีค.ศ.2030 en_US
dc.description.abstractalternative This paper uses the survey data on household electricity demand from 5 districts of Vientiane, Lao PDR, for the demand projection up to 2030 using the end-use mode combine with econometric model. The scenario analysis is used to verify the potential for energy saving program by alternating selected appliances to more energy-efficient ones following the labeling standard of Thailand. The demographic structure of electrified households and the energy efficiency of electric appliances are considered as the dominant factors affecting the electricity demand. Under the base-case scenario, the total electricity demand of Vientiane is increased from 593 GWh in 2013 to 964 GWh in 2030. In the energy efficiency scenario, it is revealed that the appliance standard enhancement program can save total electricity demand in 2030 by 147 GWh (-15.2%), where 117 GWh (-12.1%) of which is contributed by switching the air conditioner and 30 GWh (-3.1%) by switching the lighting equipment. In additional, If lighting equipment switching to LED the total electricity demand will able to save more 42 GWh (-5.1%) in 2030. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.734
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การใช้พลังงานไฟฟ้า -- ไทย th
dc.subject การใช้พลังงานไฟฟ้า -- ลาว th
dc.subject การใช้พลังงานไฟฟ้า -- พยากรณ์ th
dc.subject ที่อยู่อาศัย -- การใช้พลังงาน -- ไทย th
dc.subject ที่อยู่อาศัย -- การใช้พลังงาน -- ลาว th
dc.subject พลังงานไฟฟ้า -- การอนุรักษ์ -- ไทย th
dc.subject พลังงานไฟฟ้า -- การอนุรักษ์ -- ลาว th
dc.subject Electric power consumption -- Thailand en_US
dc.subject Electric power consumption -- Laos en_US
dc.subject Electric power consumption -- Forecasting en_US
dc.subject Dwellings -- Energy consumption -- Thailand en_US
dc.subject Dwellings -- Energy consumption -- Laos en_US
dc.subject Electric power -- Conservation -- Thailand en_US
dc.subject Electric power -- Conservation -- Laos en_US
dc.title ภาพพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือนและศักยภาพของการประหยัดพลังงานตามมาตรฐานฉลากประหยัดไฟของประเทศไทย : กรณีศึกษานครเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว en_US
dc.title.alternative HOUSEHOLD ELECTRICITY DEMAND FORECAST AND ENERGY SAVINGS POTENTIAL FOR VIENTIANE, LAO PDR en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Weerin.W@chula.ac.th en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.734


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record