DSpace Repository

ธรณีเคมีของหินอัคนีบริเวณด้านตะวันออก อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมชาย นาคะผดุงรัตน์
dc.contributor.author ดาววรินทร์ ศรีจันทร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.coverage.spatial ไพศาลี (นครสวรรค์)
dc.coverage.spatial นครสวรรค์
dc.date.accessioned 2017-10-25T01:26:45Z
dc.date.available 2017-10-25T01:26:45Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53596
dc.description โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา .... คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552 en_US
dc.description.abstract พื้นที่ภาคตะวันออกของอำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ ถูกเลือกเป็นพื้นที่ศึกษาเนื่องจากเป็น บริเวณที่ครอบคลุมด้วยหินอัคนีแทรกซอนหลายชนิด อาทิ หินอัลคาไลน์-เฟลด์สปาร์-ไซยีไนท์ หินไซยีไนท์ หินมอนโซไนท์ หินควอร์ต-มอนโซไนท์ หินควอร์ต-ไดออไรต์ และหินไดออไรต์ โดยมีหินบะซอล์และหินแอน ดีไซต์ แทรกดันหินอัคนีแทรกซอนในลักษณะของผนังหิน ตัวอย่างของหินทั้งหมด 20 ตัวอย่างได้ถูกนำไปวิเคราะห์ทางเคมี โดยใช้เครื่อง X-ray Fluorescence Spectrometer วิเคราะห์ปริมาณธาตุหลักทั้งหมดและธาตุรองบางตัว ในขณะเดียวกันได้ใช้ เครื่อง Colorimeter ( UV-VIS Spectrometer)วิเคราะห์ปริมาณ SiO₂, Al₂O₃, Fe₂O₃ เครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer วิเคราะห์ปริมาณ CaO, MgO, K₂O, Na₂O เพื่อเปรียบเทียบผลจากการ วิเคราะห์ด้วยเครื่อง XRF และปริมาณธาตุหายากวิเคราะห์โดย Neutron Activation Analysis ผลที่ได้จากการวิเคราะห์โดยเครื่อง Colorimeter ( UV-VIS Spectrometer)และเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer เมื่อเปรียบเทียบกับผลที่ได้จาก XRF มีความแตกต่างกันที่ขัดแย้ง ซึ่งทำ ให้ไม่สามารถสรุปได้ รายงานฉบับนี้จึงใช้ผลที่ได้จากเครื่อง XRF มาพิจารณา ผลการศึกษาปรากฏว่าหินอัคนีแทรกซอนเหล่านี้ประกอบด้วย SiO₂ 44.63 – 72.71%, TiO₂ 0.26 – 2.60 %, Al₂O₃13.39 – 17.52 %, Fe₂O₃ 1.75 – 15.43 %, MnO 0.01 – 0.27 %, MgO 0.19 – 7.12%, CaO 0.44 – 12.69 %, Na₂O 2.25 – 6.92 %, K₂O 0.33 – 5.73 % และ P₂O₅ 0.04 – 0.71%. โดย องค์ประกอบทางเคมีของหินมีการเปลี่ยนแปลงจากหินอัลคาไลน์-เฟลสปาร์ ซายีไนท์ เป็นหินควอตซ์-ไดโอ ไรท์ เป็นหินควอตซ์-มอนโซไนท์ เป็นหินซายีไนท์ และไปเป็นหินมอนโซไนท์ โดยที่มีปริมาณ SiO₂ เพิ่มขึ้นอย่างสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของกับการเพิ่มขึ้นของ NaO และ K₂O ในขณะที่ปริมาณ Al₂O₃, MnO, MgO, CaO, TiO₂ และ P₂O₅ มีปริมาณลดลงเป็นที่น่าสังเกตว่าปริมาณอัลคาไลน์รวม (Na₂O+K₂2O)ของหินของหินซายีไนท์ หินมอนโซไนท์ และหินควอตซ์-มอนโซไนท์มีค่าระหว่าง 9.37-11.06% ซึ่งเป็นปริมาณที่สูงมาก น่าจะเป็นแหล่งแร่ เฟลด์สปาร์ได้ในอนาคต en_US
dc.description.abstractalternative An area east of Amphoe Phai Sari, Changwat Nakhornsawan was chosen for this study. This is because of the fact that the area was covered by many kinds of intrusive rocks i.e. Alkali-feldspar syenite, Syenite, Monzonite, Quartz monzonite, Quartz diolite and Diolite. These intrusive rocks were intruded by Andesitic and Basaltic dykes. Altogether twenty rock samples were chemically analyzed for all major elements by Xray Fluorescence Spectrometer, SiO₂, Al₂O₃, Fe₂O₃ were analyzed by Colorimeter (UV-VIS Spectrometer) whereas CaO, MgO, K₂O, Na₂O were analyzed by Atomic Absorption Spectrophotometer. In addition, REE was analyzed by Neutron Activation Analysis. It was intended to find out the discrepancy among the XRF and the others. Unfortunately, the results were erratic. Thus, this study has to used the analyzes, carried out by XRF for consideration. The results show that these intrusive rocks comprise SiO₂ 44.63 – 72.71%, TiO₂ 0.26 – 2.60 %, Al₂O₃13.39 – 17.52 %, Fe₂O₃ 1.75 – 15.43 %, MnO 0.01 – 0.27 %, MgO 0.19 – 7.12%, CaO 0.44 – 12.69 %, Na₂O 2.25 – 6.92 %, K₂O 0.33 – 5.73 % and P₂O₅ 0.04 – 0.71%. The rocks chemically change from Alkali-feldspar syenite to Quartz diolite to Quartz monzonite and to Syenite, Monzonite. This can be observed that SiO₂ contents increase in accordance with the increase of Na₂O and K₂O contents whereas Al₂O₃, MnO, MgO, CaO, TiO2 and P₂O₅ contents decrease. It is noticeable that the amount of total Alkali(Na₂O+K₂O) of Syenite, Monzonite and Quartz monzonite vary from 9.37-11.06% which is quantity high. This may be used for Feldspar resources for the near future. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ธรณีเคมี en_US
dc.subject ธรณีเคมี -- ไทย en_US
dc.subject ธรณีเคมี -- ไทย -- นครสวรรค์ en_US
dc.subject ธรณีเคมี -- ไทย -- ไพศาลี (นครสวรรค์) en_US
dc.subject หินอัคนี en_US
dc.subject หินอัคนี -- Thailand en_US
dc.subject หินอัคนี -- Thailand -- Nakhon Sawan en_US
dc.subject หินอัคนี -- Thailand -- Phaisali (Nakhon Sawan) en_US
dc.subject Geochemistry en_US
dc.subject Geochemistry -- Thailand en_US
dc.subject Geochemistry -- Thailand -- Nakhon Sawan en_US
dc.subject Geochemistry -- Thailand -- Phaisali (Nakhon Sawan) en_US
dc.subject Igneous rocks en_US
dc.subject Igneous rocks -- Thailand en_US
dc.subject Igneous rocks -- Thailand -- Nakhon Sawan en_US
dc.subject Igneous rocks -- Thailand -- Phaisali (Nakhon Sawan) en_US
dc.title ธรณีเคมีของหินอัคนีบริเวณด้านตะวันออก อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ en_US
dc.title.alternative Geochemistry of igneous rocks at an area east of Amphoe Phai Sari, Changwat Nakhornsawan en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record