dc.contributor.advisor |
ศรีเลิศ โชติพันธรัตน์ |
|
dc.contributor.advisor |
จักรพันธุ์ สุทธิรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
ชุตินันท์ ลิมปกาญจน์เวช |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย |
|
dc.coverage.spatial |
อุบลราชธานี |
|
dc.coverage.spatial |
หัวเรือ (อุบลราชธานี) |
|
dc.date.accessioned |
2017-10-30T07:54:16Z |
|
dc.date.available |
2017-10-30T07:54:16Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55767 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2552 |
en_US |
dc.description.abstract |
ปัจจุบันมีการใช้สารเคมีเกษตรเป็นปริมาณมากเนื่องจากความต้องการผลิตผลทางการเกษตรที่ มากขึ้นดังนั้น อาจมีโอกาสในการปนเปื้อนของสารเคมีดังกล่าวสู่ดินและน้ำใต้ดิน สำหรับการศึกษานี้เลือก พื้นที่ศึกษาซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณตำบลหัวเรือ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดยบริเวณนี้มีการทำ การเกษตรตลอดทั้งปี และในบริเวณพื้นที่มีบ่อน้ำบาดาลและน้ำใต้ดินกระจายอยู่ ที่สำคัญเกษตรกรส่วน ใหญ่ใช้น้ำจากบ่อน้ำใต้ดินเพื่อการอุปโภคและบริโภค จากการสำรวจภาคสนามเบื้องต้นพบว่าเกษตรกรมี การใช้สารฆ่าแมลงที่มีส่วนผสมของคลอร์ไฟริฟอส (Chlorpyrifos) เป็นจำนวนมากที่สุด ดังนั้นพื้นที่ ดังกล่าวน่าจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการปนเปื้อนของสารฆ่าแมลงจากดินและสู่ชั้นน้ำใต้ดิน ความสามารถในการดูดซับของคลอร์ไฟริฟอส (Chlorpyrifos) บนดินเป็นสมบัติที่มีความสำคัญต่อ การกระจายตัวของสารฆ่าแมลงสู่ชั้นน้ำใต้ดิน โดยงานวิจัยนี้ได้ทำการทดลองแบบแบบแบทต์ (batch experiment) เพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การดูดซับแบบ Freundlich (Kf) ของดินตัวอย่างที่มีลักษณะเนื้อดิน เป็นทราย(sand) โดยใช้สัดส่วนของ ดินต่อน้ำ (g/ml) เท่ากับ 1:15 และ ทำการเขย่าเป็นเวลา 24 ชั่วโมงที่ อุณหภูมิห้องโดยมีการควบคุมความเป็นกรดด่าง และ ionic strength ให้ใกล้เคียงกับค่าความเป็นกรดด่าง และ ionic strength ของพื้นที่ศึกษา จากการทดลองในเบื้องต้นพบว่าดินตัวอย่างมีค่าสัมประสิทธิ์การดูด ซับแบบ Freundlich เท่ากับ 157.398 L/kg (n = 4.4) และหาความสัมพันธ์ของความชื้น ในดินกับความดัน ของน้ำในดิน (soil water characteristic curve) ซึ่งเป็นสมบัติที่สำคัญของชั้นดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้ำและ พบว่าสมการของ van Genuchen (VG) อธิบายสมบัติดังกล่าวได้ดีดว่าสมการของ Brooks และ Corey (BC) นอกจากนี้ได้นำค่าพารามิเตอร์ที่ได้จากการทดลองข้างต้นในการจำลองโดยประยุกต์ใช้โปรแกรม Hydrus 1D เพื่ออธิบายการเคลื่อนตัวและการตกค้างในดินที่อาจเกิดขึ้นในกรณีต่างๆ และช่วยประเมิน ความเสี่ยงของการปนเปื้อนต่อดินและน้ำใต้ดินในอนาคต |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Most of agricultural areas in Tambon Hua Rua, Changwat Ubon Ratchatani have long been intensively applied agrochemicals in agricultural activities that may in turn impact negatively to the environment including human health. Soil water characteristic curve (SWCC), relationship between water contents (θ) and suction pressures head (ψ) of soil core samples were measured at variable suction pressure heads to carry out properties of unsaturated soil. RETC program was applied to estimate unsaturated parameters; consequently, Van Genuchen (VG) could explain SWCC with high correlation coefficient (R > 0.99) that is clearly better than Brooks and Corey (BG). The batch experiment was designed to derive Freundlich sorption coefficient (Kf) value yielding 157.398 L/kg (n = 4.4) at certain mass to solution ratio of 1:15 with contact time of 24h at 25°C. Finally, HYDRUS-1D modeling showed that chlorpyrifos transported through the topsoil with an approximate depth of 100 cm. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ชั้นน้ำบาดาล |
en_US |
dc.subject |
ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- หัวเรือ (อุบลราชธานี) |
en_US |
dc.subject |
น้ำใต้ดิน |
en_US |
dc.subject |
น้ำใต้ดิน -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
น้ำใต้ดิน -- ไทย -- อุบลราชธานี |
en_US |
dc.subject |
น้ำใต้ดิน -- ไทย -- หัวเรือ (อุบลราชธานี) |
en_US |
dc.subject |
สารเคมีทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม |
en_US |
dc.subject |
สารเคมีทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
สารเคมีทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย -- อุบลราชธานี |
en_US |
dc.subject |
สารเคมีทางการเกษตร -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทย -- หัวเรือ (อุบลราชธานี) |
en_US |
dc.subject |
ชั้นน้ำบาดาล -- ไทย -- อุบลราชธานี |
en_US |
dc.subject |
คลอร์ไพริฟอส -- การดูดกลืนและการดูดซับ |
en_US |
dc.subject |
Aquifers |
en_US |
dc.subject |
Aquifers -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Aquifers -- Thailand -- Ubon Ratchathani |
en_US |
dc.subject |
Aquifers -- Thailand -- Hua Ruea (Ubon Ratchathani) |
en_US |
dc.subject |
Groundwater -- Pollution |
en_US |
dc.subject |
Groundwater -- Pollution -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Groundwater -- Pollution -- Thailand -- Ubon Ratchathani |
en_US |
dc.subject |
Groundwater -- Pollution -- Thailand -- Hua Ruea (Ubon Ratchathani) |
en_US |
dc.subject |
Agricultural chemicals -- Environmental aspects |
en_US |
dc.subject |
Agricultural chemicals -- Environmental aspects -- Pollution -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Agricultural chemicals -- Environmental aspects -- Pollution -- Thailand -- Ubon Ratchathani |
en_US |
dc.subject |
Agricultural chemicals -- Environmental aspects -- Pollution -- Thailand -- Hua Ruea (Ubon Ratchathani) |
en_US |
dc.subject |
Chlorpyrifos -- Absorption and adsorption |
en_US |
dc.title |
การดูดซับและการจำลองเคลื่อนตัวของสารฆ่าแมลงคลอร์ไฟริฟอส (Chlorpyrifos) สู่ชั้นใต้ดินบริเวณพื้นที่เกษตรกรรม : กรณีศึกษาพื้นที่ตำบลหัวเรือ จังหวัดอุบลราชธานี |
en_US |
dc.title.alternative |
Sorption and modeling transport of chlorpyrifos through shallow groundwater aquifer in an agricultural area : a case study of Hua Rua area, Changwat Ubon Ratchatani |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
lertc77@yahoo.com |
|
dc.email.advisor |
c.sutthirat@gmail.com |
|