DSpace Repository

พฤติกรรมการจัดการเล่นในธรรมชาติให้กับลูกวัยอนุบาลของพ่อแม่ในเขตกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรรณระพี สุทธิวรรณ
dc.contributor.advisor สักกพัฒน์ งามเอก
dc.contributor.author ชุติกาญจน์ มานะญาณกิจ
dc.contributor.author ทัพพานันต์ ตันสกุล
dc.contributor.author เพลงไพร รัตนาจารย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2017-11-27T08:41:08Z
dc.date.available 2017-11-27T08:41:08Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56168
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 en_US
dc.description.abstract การวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการเล่นในธรรมชาติให้กับลูกวัยอนุบาลของพ่อแม่ในเขตกรุงเทพมหานครซึ่งปัจจัยที่คาดว่าทำนายได้ ได้แก่ ความรู้ของพ่อแม่ ประสบการณ์ของพ่อแม่ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเล่นในธรรมชาติ (บริเวณที่พักอาศัย ละแวกใกล้เคียงและในเขตชุมชน) ความปลอดภัย ประโยขน์ ค่าใช้จ่ายและเวลาที่ใช้ในการเล่นในธรรมชาติโดยศึกษากลุ่มตัวอย่างพ่อแม่ที่มีลูกวัยอนุบาล(อายุระหว่าง 4-6ปี) จำนวน 193 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยคือแบบสอบถามการเล่นในธรรมชาติที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ (enter method) พบว่าปัจจัยทุกตัวสามารถอธิบายพฤติกรรมการจัดการเล่นในธรรมชาติ (F(9,183) = 5.639, p < .001) ร้อยละ 21.7 ซึ่งเวลาที่ใช้ในการเล่นในธรรมชาติ (β=-.303, p < .01) และการมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเล่นในธรรมชาติ (β=.224, p < .01) เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่ออิทธิพลทำนายพฤติกรรมการจัดการเล่นในธรรมชาติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การวิจัยแสดงให้เห็นว่าพ่อแม่มีแนวโน้มจะพาลูกออกไปเล่นในธรรมชาติหากพ่อแม่รับรู้ว่าการเล่นในธรรมชาติไม่ได้ใช้เวลามาก และมีพื้นที่ที่เอื้อต่อการจัดการเล่นในธรรมชาติบริเวณที่อยู่อาศัย en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to examine factors influencing parental manipulation of natureplay for preschool children. Those factors were: parental knowledge, parental past experience, availability of nature-play areas (i.e., home, neighborhood, and community), safety, benefits, costs, and time spent on nature play. Participants were 193 mothers and fathers of preschool children in Bangkok. The research instrument was the nature-play questionnaire developed in this study. Multiple regression analysis (enter method) indicated that all the factors could explain the parental manipulation of nature play (F(9,183) = 5.639, p < .001), accounting for 21.7% of the variance. Among those factors, Time (β = -.303, p < .01) and Availability of nature-play area at home (β = .224, p < .01) significantly predicted the parental manipulation of nature play. Results suggest that parents tend to bring their children to play in nature if they do not perceive the nature play as very much time-consuming, and if there are areas available for nature play at home. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การเล่น en_US
dc.subject จิตวิทยาเด็ก en_US
dc.subject Play en_US
dc.subject Child psychology en_US
dc.title พฤติกรรมการจัดการเล่นในธรรมชาติให้กับลูกวัยอนุบาลของพ่อแม่ในเขตกรุงเทพมหานคร en_US
dc.title.alternative PARENTAL MANIPULATION OF NATURE PLAY FOR PRESCHOOL CHILDREN IN BANGKOK en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor panrapee.s@chula.ac.th
dc.email.advisor sakkapat.N@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record