dc.contributor.advisor |
นิปัทม์ พิชญโยธิน |
|
dc.contributor.advisor |
อรัญญา ตุ้ยคำภีร์ |
|
dc.contributor.author |
ขวัญจิรา วงค์ศิริภักดิ์ดี |
|
dc.contributor.author |
เพ็ญพิชชา เกตุชัยโกศล |
|
dc.contributor.author |
สกาวรรณ บรรณกุลพิพัฒน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2017-11-27T08:57:36Z |
|
dc.date.available |
2017-11-27T08:57:36Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56171 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของปู่ย่าตายาย การสนับสนุนทางสังคมกับความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงวัยไทย เพื่อดูว่าตัวแปรทั้งบทบาทของปู่ย่าตายาย และการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ต่อความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงวัยอย่างไร โดยมีวิธีการวิจัยด้วยการเก็บกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงวัยที่มีอายุตั้งแต่ 50 - 89 ปี จำนวน 231 คน โดยเก็บข้อมูลในจังหวัดกรุงเทพมหานคร นครปฐม นครราชสีมา และหนองคาย เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามบทบาทของปู่ย่าตายาย แบบสอบถามบทบาทการสนับสนุนทางสังคม และแบบสอบถามความพึงพอใจในชีวิต ซึ่งทางกลุ่มนิสิตผู้วิจัยได้เก็บแบบสอบถามทั้งรูปแบบเอกสาร และรูปแบบออนไลน์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัย คือ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson correlation) การถดถอยเชิงพหุคูณ (multiple regression) และการถดถอยเชิงพหุแบบเชิงชั้น (hierarchical regression) ด้วยการใส่ตัวแปรทุกตัวลงในสมการ (enter method) ผลงานวิจัยพบว่า ความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงวัยไทยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับบทบาท บรรพบุรุษ (β = .372, p < .05) และมีความสัมพันธ์ทางลบกับบทบาทผู้เลี้ยงดู (β = -.403, p < .05) นอกจากนี้ความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงวัยไทยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการสนับสนุนทางสังคมจากลูก (β = .342, p < .05) การสนับสนุนทางสังคมจากคู่สมรส (β = .266, p < .05) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to examine relations among grandparenting roles, social support, and life satisfaction. Participants were 231 older adults (50 – 89 years old). Participants completed a set of questionnaires, consisted of personal data, grandparenting role scale, social support scale and life satisfaction scale. The results indicated that life satisfaction was positively and significantly correlated with ancestor role (β = .372, p < .05) and life satisfaction was negatively correlated with nurturer role (β = -.403, p < .05). Besides social support from children (β = .342, p < .05) and social support from spouse (β = .266, p < .05) was positively and significantly correlated with life satisfaction. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
จิตวิทยาพัฒนาการ |
en_US |
dc.subject |
ความสุขในผู้สูงอายุ |
en_US |
dc.subject |
Developmental psychology |
en_US |
dc.subject |
Happiness in old age |
en_US |
dc.title |
ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของปู่ย่าตายาย การสนับสนุนทางสังคม และความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงวัยไทย |
en_US |
dc.title.alternative |
RELATIONS AMONG GRANDPARENTING ROLES, SOCIAL SUPPORT, AND LIFE SATISFACTION IN THAI OLDER ADULTS |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
nipat.p@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
arunya.t@chula.ac.th |
|