DSpace Repository

การพัฒนาโมเดลทำนายเจตนาที่จะประหยัดพลังงานในที่ทำงานของพนักงานภายในองค์การ

Show simple item record

dc.contributor.advisor วัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์
dc.contributor.author วณิชชา วงศ์สืบชาติ
dc.contributor.author วิไลลักษณ์ จรัญรัฐชัย
dc.contributor.author อัคคเดช สิริวัฒนพรกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2017-11-27T10:07:07Z
dc.date.available 2017-11-27T10:07:07Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56367
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 en_US
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลทำนายเจตนาที่จะประหยัดพลังงานในที่ทำงานของพนักงานภายในองค์การ และทดสอบตัวแปรปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดเจตนาที่จะประหยัดพลังงานในที่ทำงาน โดยมี ความกังวลเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อม และความผูกพันทางใจกับองค์การ เป็นตัวแปรทำนาย มีเจตคติต่อการประหยัดพลังงานภายในที่ทำงาน และบรรทัดฐานส่วนบุคคล เป็นตัวแปรส่งผ่าน โดยการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพนักงานชาวไทยที่ทำงานอยู่ในบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 207 คน (M = 33.20 , SD = 7.90) ผลการวิเคราะห์ Path analysis ด้วยโปรแกรม AMOS พบว่า ความกังวลเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมสามารถทำนายเจตคติต่อการประหยัดพลังงานภายในที่ทำงานโดยมีอิทธิพลทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .14, p < .05) นอกจากนี้สามารถทำนายเจตนาที่จะประหยัดพลังงานในที่ทำงานของพนักงานในองค์การได้โดยอ้อม ผ่านเจตคติต่อการประหยัดพลังงานภายในที่ทำงาน (β = .02, p < .05) และบรรทัดฐานส่วนบุคคล (β = .07, p < .05) ส่วนความผูกพันทางใจกับองค์การสามารถทำนายเจตคติต่อการประหยัดพลังงานภายในที่ทำงานโดยมีอิทธิพลทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .09, p < .05) และสามารถทำนายเจตนาที่จะประหยัดพลังงานในที่ทำงานของพนักงานในองค์การได้โดยอ้อม ผ่านเจตคติต่อการประหยัดพลังงานภายในที่ทำงาน (β = .02, p < .05) และบรรทัดฐานส่วนบุคคล (β = .13, p < .05) ผู้วิจัยอภิปรายถึงการประยุกต์ผลการวิจัยสำหรับองค์การ en_US
dc.description.abstractalternative The aim of this research is to develop a model predicting intentions to conserve energy in workplace by examining some psychological factors related to the intentions to conserve energy in workplace. Variables included environmental concern and affective organizational commitment as predictors, attitudes toward energy conservation at work and personal norms as mediators. Data was collected from 207 Thai employees of private organizations in Bangkok metropolis (M = 33.20 , SD = 7.90). A path analysis by AMOS program indicated that, as expected, environmental concern significantly and positively predicted intentions to conserve energy in workplace (β =.14, p < .05). Environmental concern also predicted intentions in directly through more positive attitudes toward energy conservation at work (β = .02, p < .05) and stronger personal norms (β = .07, p < .05). Affective organizational commitment significantly and positively predicted intentions both directly (β = .09, p < .05), and indirectly via attitudes (β = .02, p < .05) and personal norms (β = .13, p < .05). Implication of the findings are discussed in terms of their applications in workplace. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การอนุรักษ์พลังงาน en_US
dc.subject การทำงาน -- แง่จิตวิทยา en_US
dc.subject จิตวิทยาองค์การ en_US
dc.subject Energy conservation en_US
dc.subject Work -- Psychological aspects en_US
dc.title การพัฒนาโมเดลทำนายเจตนาที่จะประหยัดพลังงานในที่ทำงานของพนักงานภายในองค์การ en_US
dc.title.alternative DEVELOPMENT OF A MODEL PREDICTING INTENTIONS TO CONSERVE ENERGY IN WORKPLACE en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor watcharaporn.p@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record