DSpace Repository

ต้นทุนทางจิตวิทยาที่มีต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงานและความตั้งใจในการลาออกจากงานโดยมีความผูกพันกับองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่าน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ประพิมพา จรัลรัตนกุล
dc.contributor.author ชโลทร คำทอง
dc.contributor.author ณัฐชา เดวี
dc.contributor.author เมธินี บุญมั่น
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2017-11-28T02:33:43Z
dc.date.available 2017-11-28T02:33:43Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56477
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2015 en_US
dc.description.abstract โครงงานทางจิตวิทยานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนทางจิตวิทยาความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ความตั้งใจในการลาออกจากงานของโดยมีความผูกพันกับองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่านในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพนักงานในองค์การเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครทั้งเพศชายและหญิง จ านวน 150 คน เครื่องมือที่ใช้วัดในการวิจัยได้แก่ มาตรวัดต้นทุนทางจิตวิทยา มาตรวัดความผูกพันกับองค์การ มาตรวัดความเหนื่อยหน่ายในการท างาน และมาตรวัดความตั้งใจในการลาออกจากงาน ผลการวิเคราะห์สถิติด้วยวิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณโดยโปรแกรม Process พบว่า ต้นทุนทางจิตวิทยามีอิทธิพลทางลบต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน (β=-.543, p < .001) และความตั้งใจจะลาออก (β=-.370, p < .001) แต่มีอิทธิพลทางบวกต่อความผูกพันกับองค์การ (β=.513, p < .001) ส่วนความผูกพันกับองค์การมีอิทธิพลทางลบต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน (β=-.506, p < .001) และความตั้งใจในการลาออกจากงาน (β=-.627, p < .001) อีกทั้งยังพบว่าความผูกพันกับองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่านแบบบางส่วนในความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนทางจิตวิทยาและความเหนื่อยหน่ายในการทำงาน(β=-.260, p < .001) แต่เป็นตัวแปรส่งผ่านอย่างสมบูรณ์ในความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนทางจิตวิทยาและความตั้งใจจะลาออก (β=-.322, p < .001) ผลงานวิจัยนี้เป็นประโยชน์คือ สามารถนำไปต่อยอดงานวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนทางจิตวิทยา ความเหนื่อยหน่ายในการทำงานและความตั้งใจในการลาออกจากงาน โดยมีความผูกพันกับองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่านในบริบทองค์การไทย ในด้านการปฎิบัติก็สามารถนำผลของงานวิจัยที่ได้ไปปรับและนำไปใช้ในการคัดเลือกบุคลากรและการพัฒนาต้นทุนทางจิตวิทยาของบุคลากร en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to examine the relationship between psychological capital, job burnout and intention turnover, as well as the moderation effect of organizational commitment on the relationship between psychological capital, job burnout and intention turnover. A total of 150 employees both male and female from a wide range of private organizations in Bangkok metropolitan area were selected as participants. They were asked to complete the measures of psychological capital, organizational commitment, job burnout, and intention turnover. Multiple regression analyses were conducted by using PROCESS. The findings indicated that psychological capital had a significantly negative relation with burnout (β=-.543, p < .001) and intention turnover (β=-.370, p < .001) but had a significantly positive relation with organizational commitment (β=.513, p < .001). Organizational commitment had a significantly negative relation with job burnout (β=-.506, p < .001) and intention turnover (β=-.627, p < .001). The findings also indicated that organizational commitment fully mediated the relationship between psychological capital and turnover intention (β=-.260, p < .001) but partially mediated the relationship between psychological capital and job burnout (β=-.322, p < .001). These findings can serve as a guide for future research in the relationship between psychological capital, job burnout and intention turnover, as well as the moderation effect of organizational commitment on the relationship between psychological capital, job burnout and intention turnover and can also use in recruitment process and psychological capital development in organization. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การลาออก en_US
dc.subject ความผูกพันต่อองค์การ en_US
dc.subject จิตวิทยาองค์การ en_US
dc.subject Employees -- Resignation en_US
dc.subject Organizational commitment en_US
dc.title ต้นทุนทางจิตวิทยาที่มีต่อความเหนื่อยหน่ายในการทำงานและความตั้งใจในการลาออกจากงานโดยมีความผูกพันกับองค์การเป็นตัวแปรส่งผ่าน en_US
dc.title.alternative THE IMPACT OF PSYCHOLOGICAL CAPITAL ON JOB BURNOUT AND TURNOVER INTENTION : THE MEDIATNG ROLE OF ORGANIZATIONAL COMMITMENT en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Prapimpa.J@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record