DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์ การริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตน และความสุขของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย

Show simple item record

dc.contributor.author บัวบูชา เลิศวิริยะสวัสดิ์
dc.contributor.author ลักษณา ณ น่าน
dc.contributor.author ศศินาถ เทอดสิทธิพงศ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2018-03-13T02:53:15Z
dc.date.available 2018-03-13T02:53:15Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57840
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์ การริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตน และความสุขของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจำนวน 195 คน อายุ 15-19 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดอัตมโนทัศน์ มาตรวัดการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตน และมาตรวัดความสุข วิเคราะห์ด้วยสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. อัตมโนทัศน์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนและความสุขของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .195, p<.01; r = .305, p<.019 ตามลำดับ) 2. การริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกต่อความสุขของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .335, p<.01) 3. อัตมโนทัศน์ และ การริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนสามารถทำนายความสุขของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (β =.249 ,p<.05; β =.286 ,p<.05 ตามลาดับ) en_US
dc.description.abstractalternative The study aimed to examine relations among self-concept, personal growth initiative, and happiness of high school students. Participants were 195 high school students who aged between 15-19 years old. Instruments were Self-Concept Scale, Personal Growth Initiative Scale, and Happiness Scale. Pearson product moment correlation and multiple regression analysis were used to analyze the data. The results reveals: 1. Self-concept has a significant positive correlation with personal growth initiative and happiness of high school students (r = .195, p<.01; r = .305, p<.01 respectively). 2. Personal growth initiative has a significant positive correlation with happiness of high school students (r = .335, p<.01). 3. Self-concept and personal growth initiative were able to significantly predict happiness of high school students (β =.249 ,p<.05; β =.286 ,p<.05 respectively) en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject นักเรียนมัธยมศึกษา -- แง่จิตวิทยา en_US
dc.subject การรับรู้ตนเอง en_US
dc.subject ความตระหนักในศักยภาพตน en_US
dc.subject ความสุข en_US
dc.subject ความสุขในวัยรุ่น en_US
dc.subject High school students -- Psychological aspects en_US
dc.subject Self-perception en_US
dc.subject Self-actualization (Psychology) en_US
dc.subject Happiness en_US
dc.subject Happiness in adolescence en_US
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างอัตมโนทัศน์ การริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตน และความสุขของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย en_US
dc.title.alternative Relations among self-concept, personal growth initiative, and happiness of high school students en_US
dc.type Senior Project en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record