dc.contributor.advisor |
สุภลัคน์ ลวดลาย |
|
dc.contributor.author |
ชนม์ธนิสา วิวัฒน์วรายศ |
|
dc.contributor.author |
บุศรินทร์ โอมพรนุวัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
พัชรพร สะอาดยิ่ง |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2018-03-20T07:36:06Z |
|
dc.date.available |
2018-03-20T07:36:06Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57867 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน และสื่อสังคมออนไลน์ ต่อการรับรู้รูปลักษณ์โดยมีอัตมโนทัศน์เชิงโครงสร้างเป็นตัวแปรส่งผ่านของวัยรุ่นตอนต้นเพศหญิงช่วงอายุ 11 ปีถึง 14 ปี โดยมีกลุ่มตัวอย่างในโรงเรียนกรุงเทพมหานคร จำนวน 211 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ มาตรวัดอิทธิพลของครอบครัว มาตรวัดอิทธิพลของเพื่อน มาตรวัดอิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์ มาตรวัดอัตมโนทัศน์เชิงโครงสร้าง และมาตรวัดการรับรู้รูปลักษณ์ ผลการวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่าน (Mediation Analysis) โดยโปรแกรม Process พบว่า อัตมโนทัศน์เชิงโครงสร้างเป็นตัวแปรส่งผ่านความสัมพันธ์ระหว่างอิทธิพลของครอบครัว (Indirect effect = .10, p < .001) อิทธิพลของเพื่อน (Indirect effect = .12, p < .001) และอิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์ (Indirect effect = .11, p < .001) ต่อการรับรู้รูปลักษณ์ เนื่องจากอิทธิพลทั้งสามข้างต้นล้วนเป็นปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีความใกล้ชิดต่อบุคคลและสามารถส่งผลทางความคิดของบุคคล ซึ่งอิทธิพลดังกล่าวนี้จะส่งผลต่อการรับรู้รูปลักษณ์มากหรือน้อยเพียงใดก็ขึ้นกับอัตมโนทัศน์เชิงโครงสร้าง (self-schema) ซึ่งเป็นโครงสร้างทางปัญญาของบุคคลนั้นๆ ว่ามีเจตคติและความเชื่อเช่นใดต่อข้อความที่ผ่านการแสดงออกจากอิทธิพลทั้งสามข้างต้น |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of the current study was to examine the relations among the influences of family, peer and social media towards body image. Further, this study aimed to investigate whether self-schema would mediate the relationship among these variables or not. Self-report data were collected from 211 middle school girls in Thailand (mean age: 12.3 years). All participants were asked to complete Family Influence Scale, Peer Influence Scale, Sociocultural Attitudes towards Appearance Questionnaires-3, the Appearance Schemas Inventory and Body Shape Questionnaire. Mediation analysis using Process program revealed that self-schema was a significant mediator of the relationship between the influences of family, peer and social media towards body image. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ภาพลักษณ์ร่างกาย |
en_US |
dc.subject |
การรับรู้ตนเอง |
en_US |
dc.subject |
Body image |
en_US |
dc.subject |
Self-perception |
en_US |
dc.title |
อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน และสื่อสังคมออนไลน์ ต่อการรับรู้รูปลักษณ์โดยมีอัตมโนทัศน์เชิงโครงสร้างเป็นตัวแปรส่งผ่าน |
en_US |
dc.title.alternative |
The influences of family, peer and social media towards body image : the mediating role of self-schema |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Supalak.l@chula.ac.th |
|