DSpace Repository

ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการคาดเข็มขัดนิรภัยในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น

Show simple item record

dc.contributor.advisor เรวดี วัฒฑกโกศล
dc.contributor.author กรกมล ง่วนทอง
dc.contributor.author ติณณา ดวงมณี
dc.contributor.author พัทธดนย์ นนทกะตระกูล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2018-03-21T03:55:24Z
dc.date.available 2018-03-21T03:55:24Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57880
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค และการรับรู้ความสามารถของตนเอง กับพฤติกรรมการคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต์ตามแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) Rosenstock (1974) กลุ่มตัวอย่างคือวัยผู้ใหญ่ตอนต้น อายุระหว่าง 18-30 ปี จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้วิจัยคือมาตรวัดการรับรู้โอกาสเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุหากไม่คาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต์ มาตรวัดการรับรู้ประโยชน์ในการคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต์ มาตรวัดการรับรู้อุปสรรคในการคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต์ มาตรวัดการรับรู้ความสามารถของตนเองในการคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต์ และมาตรวัดความตั้งใจในการคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต์ วิเคราะห์ผลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบปกติ (Multiple Regression Analysis: Enter Method) ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรทุกตัวสามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการคาดเข็มขัดนิรภัยขณะขับรถยนต์ได้ 31.7% โดยการรับรู้ความสามารถของตนเองมีน้ำหนักในการทำนายพฤติกรรมการคาดเข็มขัดนิรภัยมากที่สุด (β = .292, p<.05) รองลงมาคือการรับรู้โอกาสเสี่ยง (β = .273, p<.05) ส่วนการรับรู้ประโยชน์ และการรับรู้อุปสรรค ไม่สามารถทำนายพฤติกรรมการคาดเข็มขัดนิรภัยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ en_US
dc.description.abstractalternative The present research aims to study the association between seat-belt use behavior and perceived susceptibility, perceived benefit, perceived barrier and self-efficacy, based on the Health Belief Model (Rosenstock, 1974). One hundred and twenty male and female participants in early adulthood, between age of 18 to 30 were recruited. The research instruments were: Perceived Susceptibility Scale, Perceived Benefit Scale, Perceived Barrier Scale, Self-efficacy Scale, and Seat-Belt Use Behavioral Intention scale. This research use a multiple regression analysis (enter method) to analyze the data. As predicted, the results suggested that Self-efficacy (r = .443, p<.01), Perceived susceptibility (r = .392, p<.05), and Perceived benefit (r = .392, p<.05) were positively correlated with seat-belt use behavior. Perceived barrier was negatively correlated with seat-belt use behavior (r = -.266, p<.01). It also showed that 31.7% of the seat-belt use behavior was significantly accounted for by these predictors, in which Self-efficacy was the strongest predictor (β = .292, p<.05) followed by Perceived susceptibility (β = .273, p<.05). While Perceived benefit (β = .141, p>.05) and Perceived barrier (β = -.114, p>.05) did not predict seat-belt use intention. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject รถยนต์ -- เข็มขัดนิรภัย -- แง่จิตวิทยา en_US
dc.subject พยากรณ์ (จิตวิทยา) en_US
dc.subject ความปลอดภัยในท้องถนน -- แง่จิตวิทยา en_US
dc.subject Automobiles -- Seat belts -- Psychological aspects en_US
dc.subject Prediction (Psychology) en_US
dc.subject Traffic safety -- Psychological aspects en_US
dc.title ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการคาดเข็มขัดนิรภัยในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น en_US
dc.title.alternative Factors predicting seat-belt use among early adulthood en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor Rewadee.W@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record