dc.contributor.advisor |
สุภลัคน์ ลวดลาย |
|
dc.contributor.author |
ปิยะณัฐ อำไพกูลย์ |
|
dc.contributor.author |
ภาณุมาส ศรีสุโข |
|
dc.contributor.author |
สุนิสา ชนชอบธรรม |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2018-03-21T07:46:46Z |
|
dc.date.available |
2018-03-21T07:46:46Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57886 |
|
dc.description |
โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559
A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016 |
en_US |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลทำนายของความเข้มในการใช้เฟซบุ๊กและการเปรียบเทียบทางสังคมที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเอง ในนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ซึ่งมีอายุระหว่าง 18-24 ปี จำนวน 140 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ 1) มาตรวัดความเข้มในการใช้เฟซบุ๊ก 2) มาตรวัดการเปรียบเทียบทางสังคม และ 3) มาตรวัดการเห็นคุณค่าในตนเองของโรเซ็นเบิร์ก ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) แบบเข้าสมการพร้อมกัน (Enter) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความเข้มในการใช้เฟซบุ๊กมีอำนาจในการทำนายการเห็นคุณค่าในตนเองได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = -.201, p < .05) 2. การเปรียบเทียบทางสังคมมีอำนาจในการทำนายการเห็นคุณค่าในตนเองได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .529, p < .001) 3. ความเข้มในการใช้เฟซบุ๊กและการเปรียบเทียบทางสังคมสามารถร่วมกันทำนายการเห็นคุณค่าในตนเองได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (F = 29.856, p < .001) โดยสามารถร่วมกันทำนายการเห็นคุณค่าในตนเองได้ร้อยละ 30.4 |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was to study influences of Facebook intensity and social comparison on self-esteem among undergraduate students. Participants were 140 students (age 18-24). Research instruments were 1) The Facebook Intensity Scale 2) Social Comparison Scale and 3) The Rosenberg Self-Esteem Scale. All participants were asked to complete prior measures. In addition, all data were analyzed by using multiple regression analysis (Enter Method). Research result as follow: 1. Facebook intensity significantly and negatively predicted self-esteem. (β = -.201, p < .05) 2. Social comparison significantly and positively predicted self-esteem. (β = .529, p < .001) 3. Facebook intensity and social comparison significantly predicted self-esteem (F = 29.856, p < .001) and account for 30.4 percent of the total variance of self-esteem. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
นักศึกษา -- แง่จิตวิทยา |
en_US |
dc.subject |
การเปรียบเทียบทางสังคม |
en_US |
dc.subject |
การเปรียบเทียบ (จิตวิทยา) |
en_US |
dc.subject |
ความนับถือตนเอง |
en_US |
dc.subject |
College students -- Psychological aspects |
en_US |
dc.subject |
Social comparison |
en_US |
dc.subject |
Comparison (Psychology) |
en_US |
dc.subject |
Self-esteem |
en_US |
dc.title |
อิทธิพลทำนายของความเข้มในการใช้เฟซบุ๊กและการเปรียบเทียบทางสังคมที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเอง ในนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี |
en_US |
dc.title.alternative |
Influences of facebook intensity and social comparison on self-esteem among undergraduate students |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Supalak.l@chula.ac.th |
|