DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างการรับประทานอาหารอย่างมีสติกับพฤติกรรมรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ โดยมีดุลยทัศนกาลเป็นตัวแปรส่งผ่าน

Show simple item record

dc.contributor.advisor สักกพัฒน์ งามเอก
dc.contributor.advisor สรวิศ รัตนชาติชูชัย
dc.contributor.author ญาณิศา จักรกลม
dc.contributor.author ณัฐธนัญ ศิริทรงกล
dc.contributor.author ณัฐวีร์ ว่องวิทย์โอฬาร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2018-03-26T04:14:17Z
dc.date.available 2018-03-26T04:14:17Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57932
dc.description โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2559 A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2016 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาดุลยทัศนกาลในฐานะตัวแปรส่งผ่านระหว่างความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพและการรับประทานอาหารอย่างมีสติ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็น นิสิตปริญญาตรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 294 คน แบ่งเป็นเพศชาย 101 คน เพศหญิง 193 คน โดยผู้เข้าร่วมการวิจัยได้เลือกตอบจากแบบสอบถามที่ประกอบด้วยมาตรวัดมุมมองต่อเวลา ฉบับภาษาไทย (Zimbardo Time Perspective Inventory; ZTPI) และใช้สูตรส่วนเบี่ยงเบนจากดุลยทัศนกาล (Deviation from Balance Time Perspective; DBTP), มาตรวัดพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ (Adolescent Food Habit Checklist; AFHC), มาตรวัดการรับประทานอาหารอย่างมีสติ (Mindful Eating Questionnaire; MEQ), และ แบบประเมินสติ (Freiberg Mindfulness Inventory; FMI) จากนั้นจึงวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาความสัมพันธ์ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ (Regression Analysis) และการวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เพื่อทดสอบการเป็นตัวแปรส่งผ่าน ผลการวิจัยพบว่า ดุลยทัศนกาลไม่มีอิทธิพลส่งผ่านระหว่างการรับประทานอาหารอย่างมีสติและพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ (β = .00, 95% ของช่วงชั้นความเชื่อมั่น [-.01, .06], n.s.) en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to examine the mediating effect of balanced time perspective on the association between healthy eating behaviors and mindful eating. Two-hundred and ninety-four undergraduate students from Chulalongkorn University, 101 of which (33.4%) were male, were asked to complete 4 measures of Healthy Eating (Adolescence Food Habit Checklist; AHFC), Mindful Eating (Mindful Eating Questionnaire; MEQ), Time Perspective (Zimbardo Time Perspective Inventory; ZTPI), and Mindfulness (Freiburg Mindfulness Inventory; FMI). Balanced time perspective has been shown to be able to predict mindful eating (β = -.13, SE = .16, 95% CI [-.72, -.06], p < .05). However, balanced time perspective does not have the mediating effect towards the relationship between mindful eating and healthy eating (β = .00, 95% CI [-.01, .06], ns). The possible explanations are discussed. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject บริโภคนิสัย -- แง่จิตวิทยา en_US
dc.subject สติ (จิตวิทยา) -- แง่อนามัย en_US
dc.subject Food habits -- Psychological aspects en_US
dc.subject Mindfulness (Psychology) -- Health aspects en_US
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างการรับประทานอาหารอย่างมีสติกับพฤติกรรมรับประทานอาหารที่ส่งผลดีต่อสุขภาพ โดยมีดุลยทัศนกาลเป็นตัวแปรส่งผ่าน en_US
dc.title.alternative Balanced time perspective as a mediator of the relationship between mindful eating and healthy eating en_US
dc.type Senior Project en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record