DSpace Repository

การนำเสนอรูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมความมั่นคงของชาติ ในจังหวัดชายแดนของประเทศไทย : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author ไพฑูรย์ สินลารัตน์
dc.contributor.author กอบกุล พฤกษะวัน
dc.contributor.author ปองสิน วิเศษศิริ
dc.contributor.author ณัฐนิภา วิเศษศิริ
dc.contributor.author เอกชัย กี่สุขพันธ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2018-10-09T01:35:36Z
dc.date.available 2018-10-09T01:35:36Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60436
dc.description.abstract การนำเสนอรูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมความมั่นคงของชาติในจังหวัดชายแดนของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นำเสนอรูปแบบ (2) นำเสนอแนวทางการใช้รูปแบบ วิธีการวิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบที่ได้เป็นรูปแบบที่ใช้หลักการตามทฤษฎีระบบ โดยส่วนที่เป็นจุดเด่น คือ ภารกิจใหม่ในการบริหารโรงเรียนที่พัฒนาขึ้นมาเป็นพิเศษสำหรับการส่งเสริมความมั่นคงของชาติ และ การส่งเสริมความสำคัญของการบริหารงานวิชาการในเรื่องความมั่นคงของชาติ (2) แนวทางการใช้รูปแบบ ประกอบด้วย 1) การใช้หลักการกำกับการใช้รูปแบบ ที่สำคัญ ได้แก่ หลักการบริหารที่ใช้โรงเรียนเป็นฐาน หลักธรรมาภิบาล 2) ขั้นตอนการดำเนินการเพื่อใช้รูปแบบมี 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การศึกษาและเตรียมการ ขั้นที่ 2 การวางแผนปฏิบัติการใช้รูปแบบ ขั้นที่ 3 การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงาน ขั้นที่ 4 การประเมินผลการดำเนินงาน และขั้นที่ 5 การสรุปผลการใช้รูปแบบ 3) เงื่อนไขความสำเร็จของการใช้รูปแบบขึ้นอยู่กับการปฏิบัติงานอย่างสอดคล้องกันของหน่วยงาน 3 ระดับ คือ ระดับกระทรวง ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับโรงเรียน en_US
dc.description.abstractalternative A Proposed of a Basic School Management Model for Enhancing the National Security over the Provinces on the Border of Thailand has following objectives: 1) to propose the model 2) to develop the guidelines on how to use the model. The methodology used is Mixed Methods; documentary reviewing, personal and focus group interviewing, and using of questionnaires were conducted. Governors of the provinces on the border of Thailand, Directors of the Educational Service Area Office, School Directors, Teachers, School Board Committee Members, and Parents were research informants. The findings were: 1. The System Theory was the core of this model. The highlights of this model were on the new management mission especially designed for enhancing the national security and the enhancing of the importance of the academic administration on the subject of the national security. 2. The model guidelines consisted of 3 parts: 1) The use of the principles of management such as the school-based management and the principles of good governance. 2) The processes of how to use the model were set into 5 steps as follows: studying and preparing, planning, implementing, evaluating, and summarizing; 3) The success of the model depended on the cooperative work of these 3 levels of government sectors — the Ministry level, the Educational Service Office level, and the School level. en_US
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2555 en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การศึกษาขั้นพื้นฐาน -- ไทย (ภาคใต้) en_US
dc.subject การศึกษา -- ไทย (ภาคใต้) en_US
dc.title การนำเสนอรูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมความมั่นคงของชาติ ในจังหวัดชายแดนของประเทศไทย : รายงานผลการวิจัย en_US
dc.type Technical Report en_US
dc.email.author Paitoon.Si@Chula.ac.th
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author Pongsin.V@Chula.ac.th,v.pongsin@gmail.com
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ekachaiks@hotmail.com


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record