DSpace Repository

A case study of an english teacher learning community in Thailand

Show simple item record

dc.contributor.advisor Jutarat Vibulphol
dc.contributor.author Hasakamon Duangmani
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Education
dc.date.accessioned 2018-12-03T02:28:55Z
dc.date.available 2018-12-03T02:28:55Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/60719
dc.description Thesis (M.Ed.)--Chulalongkorn University, 2017
dc.description.abstract One of the current approaches to improving instructional quality is to form a Teacher Learning Community (TLC), in which teachers collaborate and support each other’s development. In this study, the learning and instructional practices of five English teachers working in public schools in Sisaket were examined over the period of three months while they were collaborating in one TLC that the group established on their own free will. Data from the observations, journals, and lesson plans were then analyzed using the coding method. The findings revealed benefits of TLC on teacher learning and instructional practices. The English teachers in this study seemed to learn how to improve their instructional practices from the processes in TLC including lesson plan preparation using online resources, lesson plan sharing, and classroom implementation. The findings also indicated that TLC improved the teachers’ instructional practices in a few areas. The findings suggest the promotion of establishing TLC based on the interests of the members, rather than as a requirement. Due to the time constraints for face to face meetings, future research may explore how online collaboration may help overcome this challenge in TLC.
dc.description.abstractalternative วิธีการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนวิธีหนึ่งในปัจจุบันคือ การจัดตั้งชุมชนแห่งการเรียนรู้ของผู้สอน ในชุมชนนี้ครูให้ความร่วมมือและสนับสนุนกันและกันเพื่อนำไปสู่การพัฒนา งานวิจัยนี้ได้สังเกตการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนของครูภาษาอังกฤษในโรงเรียนรัฐบาลจำนวน 5  คน ในจังหวัดศรีสะเกษเป็นเวลา 3 เดือน ในระหว่างที่พวกเขาใช้เวลาร่วมมือกันในชุมชนแห่งการเรียนรู้ของผู้สอนที่ร่วมกันจัดตั้งขึ้นด้วยความสมัครใจ ข้อมูลจากการสังเกต การบันทึกหลังการสอน และแผนการสอน ได้ถูกนำมาวิเคราะห์โดยใช้วิธีการใส่รหัส  ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของชุมชนแห่งการเรียนรู้ของผู้สอนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนของครู ครูผู้สอนภาษาอังกฤษในงานวิจัยนี้ดูเหมือนจะได้เรียนรู้ที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเองจากกระบวนการต่าง ๆ ในชุมชนแห่งการเรียนรู้ของผู้สอน ได้แก่  การเตรียมแผนการสอนด้วยการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับแผนการสอน และ การลงมือปฏิบัติในชั้นเรียน นอกจากนี้ ผลการวิจัยยังระบุว่า ชุมชนแห่งการเรียนรู้ของผู้สอนส่งผลให้ครูมีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในหลายด้าน ผลการวิจัยนี้เสนอให้เห็นข้อดีที่เกิดจากชุมชนแห่งการเรียนรู้ของผู้สอนที่สร้างขึ้นด้วยความสนใจของสมาชิกมากกว่าการทำตามข้อบังคับ จากข้อค้นพบเรื่องข้อจำกัดของเวลาสำหรับการประชุม งานวิจัยในอนาคตอาจศึกษาเกี่ยวกับการใช้การเรียนรู้ร่วมกันผ่านช่องทางออนไลน์ในการแก้ปัญหาเรื่องเวลาสำหรับชุมชนแห่งการเรียนของผู้สอน
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.531
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Professional learning communities
dc.subject English teachers
dc.subject ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
dc.subject ครูภาษาอังกฤษ
dc.subject.classification Arts and Humanities
dc.title A case study of an english teacher learning community in Thailand
dc.title.alternative กรณีศึกษาชุมชนแห่งการเรียนรู้ของผู้สอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Education
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Teaching English as a Foreign Language
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.email.advisor Jutarat.V@Chula.ac.th
dc.subject.keyword TEACHER LEARNING COMMUNITY
dc.subject.keyword INSTRUCTIONAL PRACTICE
dc.subject.keyword TEACHER LEARNING
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2017.531


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record