DSpace Repository

การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับเด็กด้อยโอกาสในวัดสวนแก้ว

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาชัญญา รัตนอุบล
dc.contributor.advisor รัตนา พุ่มไพศาล
dc.contributor.author จันทิมา ปัญจวัฒน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-03-05T01:37:02Z
dc.date.available 2020-03-05T01:37:02Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9743466223
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64291
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.บ.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับเด็กด้อยโอกาสในวัดสวนแก้ว โดยใช้แบบสอบถามและแบบสังเกต กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ พระที่เกี่ยวช้องกับการจัดกิจกรรม จำนวน 8 รูป ฆราวาสผู้ร่วมงาน จำนวน 20 คน และเด็กด้อยโอกาสจำนวน 50 คนโดยใช้แบบลอบถามและแบบสังเกตในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับเด็กด้อย โอกาสจัดแบบเป็นกลุ่มและแบบชั้นเรียนมากที่สุด กิจกรรมที่จัดมากที่สุด คือ กิจกรรมการเกษตรและกิจกรรมการสอนการดำเนินชีวิต การสอนกิจกรรมเน้นการปฏิบัติมากกว่าทฤษฎี ผู้สอนกิจกรรมเป็นแบบอย่างที่ดี ผู้เรียนได้เรียนในสิ่งที่ตนสนใจ และวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนการสอนเหมาะสมและเพียงพอ ด้านปัญหาและอุปสรรคของการจัดกิจกรรมพบว่า เป็นปัญหาในระดับน้อย ปัญหามี 5 ประเด็น โดยเรียงระดับความเป็นปัญหาจากมากไปหาน้อยได้แก่ 1. การนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพ และวิธีการสอนไม่ค่อยสอดคล้องกับเนื้อหาวิชา 2. ความชำนาญของผู้ลอน ความเป็นกันเองและความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน 3. เด็กด้อยโอกาสรู้สีกมีปมด้อยและไม่มั่นใจในตนเอง 4. วัสดุที่ใช้ในการเรียนการสอนไม่เพียงพอ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนการสอนขาดแคลน 5. การประเมินผลไม่คำนึงถึงการนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง และไม่ให้ผู้เรียนมีส่วนในการประเมินผล ส่วนประเด็นอื่นๆ พบว่าไม่เป็นปัญหา
dc.description.abstractalternative This purposes of this research were to study the non-formal education activities organized for disadvantaged children in Wat Suan Keaw through questionnaires and observation. The samples were 8 monks, 20 laymen, and 50 disadvantaged children. The research instruments constructed by the researcher were two sets of questionnaires and one observation form. The data were analyzed by mean of frequency , percentage .means and standard deviation. The findings of the research were as the followings; 1. Most of education activities organized for disadvantaged children were the subjects concerning agricultural activities and life skill activities which managed into groups or classes focusing on the practical activities more than theoretical ones. So, the children have learned the subjects of their interests from courteous instructions with appropriate and adequate instructional materials. 2. There were less problems and obstacles of the organized activities, hovever, those were 1) the knowledge could not serve the children’s future job and the teaching processes were not much coherent to the subject content. 2) the instructors's expertise, the friendship and relationship betweeninstructors and learners. 3) the disadvantaged children's weakpoint and unconfidence. 4) the unadequate of instrutional materials and the shortage of learning facilities. 5) the assessment which ignored the pracetice in daily life and the participation of the children.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject การศึกษานอกระบบโรงเรียน
dc.subject เด็กด้อยโอกาส
dc.subject วัดสวนแก้ว
dc.title การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนสำหรับเด็กด้อยโอกาสในวัดสวนแก้ว
dc.title.alternative Non-formal education activities organizing for disadvantaged children in Wat Suan Kaew
dc.type Thesis
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การศึกษานอกระบบโรงเรียน
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record