DSpace Repository

ผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ในการสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และสำนักด้านจำนวนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Show simple item record

dc.contributor.advisor ดวงเดือน อ่อนน่วม
dc.contributor.author รุ่งอรุณ ลียะวณิชย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-05-12T04:43:29Z
dc.date.available 2020-05-12T04:43:29Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741738722
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65744
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตอุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ในการสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสำนึกด้านจำนวนของนักเรียนชั้นประถมคิกษาปีที่ 3 ตัวอย่างประชากรคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 32 คนและกลุ่มควบคุม 32 คนกลุ่มทดลองได้รับการสอนโดยใช้เกมคณิตศาสตร์ในการสอนตามแนวคิดคอนสตรีคติวิสต์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการสอนตามปกติ ทั้งสองกลุ่มได้รับการสอนเป็นเวลา 10 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และแบบสอบสำนึกด้านจำนวน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าที (t-test) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์และสำนึกด้านจำนวนของนักเรียนกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้เกมคณิตศาสตร์ในการสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ใช้การสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้เกมคณิตศาสตร์ในการสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์มีสำนึกด้านจำนวนดกว่านักเรียนที่ใช้การสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to study the effect of using mathematics games under the constructivist teaching approach on mathematics learning achievement and number sense of Prathom Suksa three students. The subjects of the study were 64 Prathom Suksa three students; 32 students in the experimental group and 32 students in the control group. The experimental group taught by using mathematics games under the constructivist teaching approach whereas the control group taught by the contemporary method. The duration of the study was 10 weeks. The instruments used in this study were a mathematics learning achievement test and a number sense test. Data were analyzed by using t-test to compare mathematics learning achievement and number sens between the students in the experimental and the control groups. The results of this study were as follows : 1. Students taught by using mathematics games under the constructivist teaching approach had higher mathematics learning achievement than those taught by the contemporary method at the .01 level of significance. 2. Students taught by using mathematics games under the constructivist teaching approach had developed a much better number sense than those taught by the contemporary method at the .01 level of significance.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ทฤษฎีสรรคนิยม en_US
dc.subject คณิตศาสตร์นันทนาการ en_US
dc.subject คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) en_US
dc.subject จำนวนเลข en_US
dc.subject การนับ en_US
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน en_US
dc.subject เกมในการศึกษาคณิตศาสตร์ en_US
dc.subject Mathematical recreations en_US
dc.subject Mathematics -- Study and teaching ‪(Elementary)‬ en_US
dc.subject Numeration en_US
dc.subject Counting en_US
dc.subject Academic achievement en_US
dc.subject Constructivism ‪(Education)‬ en_US
dc.subject Games in mathematics education en_US
dc.title ผลของการใช้เกมคณิตศาสตร์ในการสอนตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และสำนักด้านจำนวนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 en_US
dc.title.alternative Effects of using mathematics games under the constructivist teaching approach on mathematics learning achievement and number sense of prathom suksa three students en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ประถมศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Duangduen.O@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record