dc.contributor.advisor |
ตรีศิลป์ บุญขจร |
|
dc.contributor.advisor |
ถนอมนวล หิรัญเทพ |
|
dc.contributor.author |
นิภาภัทร อภิภัทรพาณิชย์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-05-23T11:06:35Z |
|
dc.date.available |
2020-05-23T11:06:35Z |
|
dc.date.issued |
2544 |
|
dc.identifier.isbn |
9741703074 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65924 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
en_US |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ความเป็นจีนในวรรณกรรมของนักเขียนสตรีอเมริกันเชื้อสายจีน 6 เรื่อง ได้แก่ Fifth Chinese Daughter ของ สโนว์ วอง (Jade Snow Wong), The Woman Warrior: Memoirs of a Girlhood among Ghosts ของ แม็กซีน ฮง คิงสตัน (Maxine Hong Kingston), The Joy Luck Club, The Kitchen God’s Wife และ The Hundred Sectet Senses ของ เอมี่ ตัน (Amy Tan), Bone ของ เฟ เหมียน อิง (Fae Myenne Ng) รวมถึงการศึกษาภูมิหลังทางสังคมของชาวอเมริกันเชื้อสายจีนและพัฒนาการทางวรรณกรรมเพื่อให้เข้าใจสถานภาพที่เป็นชนกลุ่มน้อยของชาวจีน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า วรรณกรรมดังกล่าวเสนอภาพลักษณ์ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประการ คือ ภาพลักษณ์ความเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคมอเมริกันกระแสหลัก ชาวจีนอพยพเข้ามาในช่วงยุค “ขุดทอง” ความเป็นชนกลุ่มน้อยผลักดันให้นักเขียนต้องการแสดงความเป็นปัจเจกบุคคลการดำรงไว้ ซึ่งอัตลักษณ์จีนและต้องการการยอมรับในฐานะที่เป็นชาวอเมริกันเชื้อสายจีนที่แตกต่างจากชาวอเมริกันกระแสหลัก ลักษณะประการที่ 2 คือ ภาพลักษณ์สตรีในวรรณกรรม นักเขียนนำเสนอภาพลักษณ์สตรีจีนที่มีความหลากหลาย คือ ภาพลักษณ์แบบฉบับที่สตรีจีนเป็นเหยื่อหรือผู้ถูกระทำทางสังคม ภาพลักษณ์แบบฉบับของแม่ชาวจีน ภาพลักษณ์ใหม่ของสตรีจีน-อเมริกันรุ่นลูกที่มีความเป้นปัจเจกบุคคล และภาพลักษณ์สตรีที่แสวงหาความสมดุลระหว่างความเป็นจีนและความเป็นอเมริกัน การนำเสนอภาพลักษณ์สตรีจีนทำให้เห็นความเปลี่ยนแปลงสถานภาพของสตรีจากเดิมที่ถูกกดขี่มาเป็นได้รับการยอมรับมากขึ้น จากสตรีจีนที่พ่ายแพ้ต่อชะตากรรมมาเป็นผู้ชนะ |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of this thesis is to study the Chinses images in the works of four Chinese American women writers, namely Jade Snow Wong’s Fifth Chinese Daughter, Maxine Hong Kingston’s The Woman Warrior: Memoirs of a Girlhood among Ghost, Amy Tan’s The Joy Luck Club, The Kitchen God’s Wife, and The Hundred Secret Senses, and Fae Myenne Ng’s Bone. Social background of the Chinese immigrants in the US as well as the development of Chinese-American literature will be studied to provide deeper understanding of the status of the ethnic Chinese. The Chinese images presented in these six works can be viewed from two angles. Firstly, there are images of the ethnic Chinese as members of a minority group, who migrated to the US during the Gold Rush era. These “minority” images are portrayed to present the desire for individuality, to maintain the Chinese identity and to gain acceptance as Chinese-Americans as opposed to Americans in the mainstream society. Secondly, these works abound in images of Chinese women, which can be categorized into three types: the stereotypes of Chinese women as victims of men and as traditional Chinese mothers, the American-born Chinese of the “new generation who assert their individuality, and the Chinese Americans who seek for a balance between American and Chinese cultures. In these varied representations of women of Chinese descent, one can see the change in the status of Chinese women, from being oppressed to being defiant, from being the loser to being the victor. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2001.369 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
นักประพันธ์อเมริกันเชื้อสายจีน |
en_US |
dc.subject |
นักประพันธ์สตรีอเมริกัน |
en_US |
dc.subject |
วรรณกรรมอเมริกัน |
en_US |
dc.subject |
สตรีอเมริกันเชื้อสายจีน |
en_US |
dc.subject |
สตรีในวรรณคดี |
en_US |
dc.subject |
Chinese American authors |
en_US |
dc.subject |
Chinese American women |
en_US |
dc.subject |
Women in literature |
en_US |
dc.subject |
Women authors, American |
en_US |
dc.subject |
American literature |
en_US |
dc.title |
ตะวันออกในตะวันตก : ภาพลักษณ์ความเป็นจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีอเมริกันเชื้อสายจีน |
en_US |
dc.title.alternative |
East in West : Chinese images in novels by Chinese-American women writers |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
วรรณคดีเปรียบเทียบ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Trisilpa.B@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Thanomnual.H@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2001.369 |
|