DSpace Repository

การศึกษามโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนานของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุวัฒนา อุทัยรัตน์
dc.contributor.author ณัฐไฉไล พริ้งมาดี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-04T04:57:28Z
dc.date.available 2020-06-04T04:57:28Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9740305504
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66169
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพี่อศึกษามโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนาน ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นและศึกษามโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนานของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 415 คน จากโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์เรื่องเส้นขนาน และแบบสัมภาษณ์มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนาน ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง แบบทดสอบมีความตรงเชิงเนื้อหา โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.80 และค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.24 - 0.57 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัชณิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่ามัชณิมเลขคณิตร้อยละของมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนาน ที่จำแนกตามมโนทัศน์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวอย่างประชากรมีมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนานในระตับตํ่า คือมีค่ามัชฌิมเลขคณิตร้อยละ54 2. เมื่อพิจารณาจากมโนทัศน์ที่จำแนกเป็น 4 มโนทัศน์ย่อย พบว่า 2.1 ตัวอย่างประชากรมีมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนาน ในระดับตํ่าใน 3 มโนทัศน์ย่อย คือบทนิยามของเส้นขนาน เส้นขนานและมุมแย้ง และเส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน 2.2 ตัวอย่างประชากรมีมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนาน ในระดับปานกลาง คือ มโนทัศน์ย่อยเรื่องเส้นขนานและมุมภายใน 3. ตัวอย่างประชากรที่มีมโนทัศน์คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์เรื่องเส้นขนาน คิดเป็นร้อยละ 27.95-39.52 ใน 4 มโนทัศน์ย่อย
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to study mathematics concepts and misconcepts in parallel lines of lower secondary school students. The subjects of this study were 415 mathayom suksa three students which were stratified randomly sampled from the lower secondary schools under the General Educational Department in Bangkok Metropolis. The research instruments were mathematics concepts test and the interview form on the parallel lines. The mathematics concepts test had the reliability of 0.80 and the discrimination power of 0.24 - 0.57. The data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation and mean of percentage of each sub-concepts and of main concept. The research results were revealed that : 1. The subjects had the mathematics concept on the paralell at the lower level, the mean of percentage of concept score was 54. 2. When considering each sub-concepts from mathematics main concept, 2.1 it was found that the subjects had three sub-concepts at the low level. These sub-concepts were as follows : 2.1.1 definition of parallel 2.1.2 parallel and alternate angles 2.1.3 parallel and corresponding angles 2.2 it was found that the subjects had mathematics sub-concepts at the medium level in parallel and supplementary angles. 3. The percentages of the subjects who had the misconcept were between 27.95 - 39.52 for four mathematics sub-concepts.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) en_US
dc.subject ความคิดรวบยอด en_US
dc.subject Mathematics -- Study and teaching ‪(Secondary)‬
dc.subject Concepts
dc.title การศึกษามโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่องเส้นขนานของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น en_US
dc.title.alternative Study of mathematics concepts in parallel lines of lower secondary school students en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การศึกษาคณิตศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Suwattana.U@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record