DSpace Repository

การเปรียบเทียบผลของการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกดค้างไว้กับแบบพีเอ็นเอฟที่มีต่อการพัฒนาความอ่อนตัวของนักกีฬายิมนาสติก

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ์
dc.contributor.author ปณิธาน หงษ์ทอง, 2523-
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-06-13T17:50:44Z
dc.date.available 2020-06-13T17:50:44Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.issn 9745321303
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66306
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกดค้างไว้กับพีเอ็นเอฟที่มีต่อการพัฒนาความอ่อนตัวของนักกีฬายิมนาสติก กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬายิมนาสติกของโรงเรียนกีฬากรุงเทพมหานคร อายุ 7 - 10 ปี จำนวน 40 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง และผู้วิจัยทำการแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม เท่า ๆ กัน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายกลุ่มทดลองที่ 1 ฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกดค้างไว้ กลุ่มทดลองที่ 2 ฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบ พีเอ็นเอฟ ใช้ระยะเวลาในการฝึก 8 สัปดาห์ ทำการทดสอบความอ่อนตัว ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง 4 สัปดาห์ และหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ แล้วนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ตามวิธีทางสถิติด้วยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดวัดซ้ำ และเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธีทดสอบของตูกี (Tukey) ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังการทดลอง 4 สัปดาห์ และหลังการทดลอง 8 สัปดาห์กลุ่มที่ฝึก ยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบพีเอ็นเอฟมีความอ่อนตัวมากกว่ากลุ่มที่ฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกดค้างไว้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. หลังการทดลอง 4 สัปดาห์ และหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ ทั้งสองกลุ่มมีความอ่อนตัวมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และหลังการทดลอง 8 สัปดาห์ทั้งสองกลุ่มมีความอ่อนตัวมากกว่าหลังการทดลอง 4 สัปดาห์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study and compare the effects of static stretching and PNF stretching on flexibility development of gymnasts. The subjects were 40 gymnasts at Sports School of Bangkok, aged between 7 — 10 years old by purposive sampling. They were divided equally into two groups by simple random sampling. The first experimental group had static stretching and the second experimental group had PNF stretching. Both groups trained for a period of eight weeks. Flexibility test were measured before training, after 4 week and 8 week in both groups. The obtained data were then statistically analyzed in terms of means, standard deviations and t-test. The one-way analysis of variance with repeated measures and multiple comparison by the Tukey were also employed for statistical significant. The results were as follows: 1. After 4 weeks and after 8 weeks, flexibility in the PNF stretching group was significantly better than the static stretching group at the .05 level. 2. After 4 weeks and after 8 weeks, flexibility in both groups were significantly better than before training at the .05 level, and after 8 weeks, flexibility in both groups were significantly better than after 4 weeks at the .05 level.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.826
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การยืดเหยียด en_US
dc.subject ยิมนาสติกส์ -- การฝึก en_US
dc.subject นักยิมนาสติกส์ en_US
dc.subject Stretch (Physiology) en_US
dc.subject Gymnastics -- Training en_US
dc.title การเปรียบเทียบผลของการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบกดค้างไว้กับแบบพีเอ็นเอฟที่มีต่อการพัฒนาความอ่อนตัวของนักกีฬายิมนาสติก en_US
dc.title.alternative The comparison of effects of static stretching and PNF stretching on flexibility development of gymnasts en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline พลศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor chaninchai.i@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2004.826


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record