dc.contributor.author |
ยุพิน พิพิธกุล |
|
dc.contributor.author |
พร้อมพรรณ อุดมสิน |
|
dc.contributor.author |
สุชาวดี เอี่ยมอรพรรณ |
|
dc.contributor.author |
สุวัฒนา อุทัยรัตน์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝ่ายประถม) |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2008-04-22T08:14:07Z |
|
dc.date.available |
2008-04-22T08:14:07Z |
|
dc.date.issued |
2525 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6649 |
|
dc.description |
งานวิจัยนี้เป็นโครงการหนึ่งในโครงการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างการใช้และไม่ใช้ชุดการสอน สำหรับวิชาวิธีสอนต่างๆ |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดการสอนสำหรับผู้สอนวิชาพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตที่ใช้ และไม่ใช้ชุดการสอน สำหรับวิชาพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ผู้วิจัยได้สร้างชุดการสอนแบบบรรยายด้วยตนเองขึ้นจำนวนหนึ่งชุด และได้นำไปทดลองใช้ก่อนนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างประชากรซึ่งเป็นนิสิตชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 32 คน ปีการศึกษา2523 ซึ่งออกฝึกสอนในชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2524 เป็นตัวอย่างประชากร และได้นำคะแนนเฉลี่ยสะสมและคะแนนเฉลี่ยของการสอนซึ่งได้จากการใช้แบบประเมินผลสมรรถภาพการสอนของประคอง กรรณสูต และคณะ ของนิสิตที่ใช้และไม่ใช้ชุดการสอนสำหรับวิชาพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์มาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA) ผลการวิจัยปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้คะแนนเฉลี่ยสะสมกับคะแนนเฉลี่ยครั้งแรกที่ได้จากการฝึกสอนของนิสิตที่ใช้ และไม่ใช้ชุดการสอน จากการศึกษาวิชาเชิงพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้คะแนนเฉลี่ยสะสมและคะแนนเฉลี่ยครั้งแรกเฉพาะหัวข้อการใช้สื่อการสอนก็ไม่แตกต่างกันด้วย |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purposes of this research were to construct an instructional package for teachers of Mathematics Teaching Behavior Course and to compare the learning achievement of the students who learned by using the instructional package and those who did not. An instructional package constructed by the researchers was tries out, and then used with the samples of 32 third year students of the Faculty of Education, Chulalongkorn University in the academic year 1980 who were practicing their student teaching in the academic year of 1981. The grade point average and average scores from Prakong Karnasoot, et. al.'s Teaching Competency Evaluation Form of the students from both groups were analyzed by using ANCOVA. The results were: the grade point average and the practice teaching average score of students learning by using the instructional package and those who did not were not significantly different. Moreover, the grade point average and the average score of the instructional media usage were not significantly different. |
en |
dc.format.extent |
7508839 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
คณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา) |
en |
dc.subject |
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน |
en |
dc.title |
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตที่ใช้และไม่ใช้ ชุดการสอนสำหรับวิชาพฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์ |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
Prompan.U@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
Suwattana.U@chula.ac.th |
|