DSpace Repository

ผลของการจัดกิจกรรมนันทนาการตามทฤษฎีแอนดราโกจี เพื่อเพิ่มความเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค กรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor เกียรติวรรณ อมาตยกุล
dc.contributor.author พรประเสริฐ เสือสี
dc.date.accessioned 2020-06-24T08:15:09Z
dc.date.available 2020-06-24T08:15:09Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.isbn 9745310557
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66567
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของการจัดกิจกรรมนันทนาการตามทฤษฎีแอนดราโกจีของผู้สูงอายุในสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค ใช้การวิจัยกึ่งทดลองโดยรูปแบบการทดลองมีการทดสอบก่อนและหลังการทคลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ จำนวน 68 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 34 คน ทำการประเมินการเห็นคุณค่าในตนเองโดยการพัฒนาแบบวัดความเห็นคุณค่าในตนเองของคูเปอร์สมิธกับกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่มก่อนการทดลอง 1 วัน จากนั้นนำกลุ่มทดลองเข้าโปรแกรมเป็นเวลา 10 วัน วันละ 2 ชั่วโมงหลังการทดลอง 1 วัน ทำการประเมินความเห็นคุณค่าในตนเองทั้ง 2 กลุ่มนำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) ผลของการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มการทดลอง เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการตามทฤษฎีแอนดราโกจี มีคะแนนเฉลี่ยของการเห็นคุณค่าในตนเองหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 2. กลุ่มทดลอง เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการตามทฤษฎีแอนดราโกจี มีคะแนนเฉลี่ยของการเห็นคุณค่าในตนเองภายหลังการทดลองสูงกว่า กลุ่มควบคุม (กิจกรรมนันทนาการทั่วไป) อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study and compare the effects of organizing recreation activities according to the Andragogy theory for increasing self-esteem of the elderly in the Bangkae Home for the Aged Bangkok Metropolis. The research methodology was Quasi Experimental Research and design was The Pretest Posttest Control Group Design. The 68 samples were elderlies in the Bangkae Home for the Aged divided into two groups: the experimental croup of 34 elderies and control group of 34 elderies, The experimental group participated in recreation activities according to the Andragogy theory. The two group were examined their self-esteem by applied the inventory Self-Esteem Coopersmith’s Inventory during one day before the experiment. Then, the experimental group was participated in recreation activities according to the Ancragogy theory for two hows per day for 10 days period. The data were collected after 10 days using the Self-Esteem Inventory and analyzed in terms of X_, S.D. and t-test The results were : 1. The experimental group attendant recreation activities according to the andragogy theory had improved the arithmetic means on self-esteem significant higher than before and after at .05 level 2. The experimental group attendant recreation activities according to the andragogy theory and the control group (recreation activities) had the aritnmetic means self-esteem significantly higher than after post test at .05 level
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.679
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ความนับถือตนเองในผู้สูงอายุ -- ไทย en_US
dc.subject ผู้สูงอายุ -- นันทนาการ en_US
dc.subject Self-esteem in old age -- Thailand en_US
dc.subject Older people -- Recreation en_US
dc.title ผลของการจัดกิจกรรมนันทนาการตามทฤษฎีแอนดราโกจี เพื่อเพิ่มความเห็นคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุสถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค กรุงเทพมหานคร en_US
dc.title.alternative Effects of the organizing recreation activities according to the andragogy theory to increasing the elderly's self-esteem in the Bangkae Home for the Aged Bangkok Metropolis en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การศึกษานอกระบบโรงเรียน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Kiatiwan.A@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2004.679


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record