DSpace Repository

ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจไทย-รัสเซียระหว่างปี ค.ศ. 1991-2001

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชูเกียรติ พนัสพรประสิทธิ์
dc.contributor.author พงศ์พัฒน์ เทียนศิริ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-07-20T08:23:24Z
dc.date.available 2020-07-20T08:23:24Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741747888
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67137
dc.description วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาข้อจำกัดต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคสำหรับการดำเนินความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับรัสเซียในระหว่างปี ค.ศ 1991-2001 โดยการศึกษาจะเน้นพิจารณามุมมองของฝ่ายไทยต่อปัญหา และอุปสรรคที่ทำให้ความสัมพันธ์ทางเศรฐกิจระหว่างสองประเทศไม่พัฒนาอย่างที่ควรจะเป็นในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งได้ใช้แนวคิดการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน Robert O. Keohane และ Joseph S. Nye โดยความสัมพันธ์ระหว่างกันนั้น มีการค้าเป็นรูปแบบของการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันในทางเศรษฐกิจ หากแต่เป็นไปในลักษณะที่ไม่เท่าเทียมกัน ผลการศึกษาได้ข้อสรุปตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ว่า การล่มสลายของสหภาพโซเวียดนั้นน่าจะเอื้ออำนวยให้ไทยสามารถพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรฐกิจกับรัฐเซียให้ก้าวหน้าได้ แต่ในการปรับตัวของรัสเซียจากระบบสังคมนิยมเข้าสู่ระบบทุนนิยมประสบปัญหาจึงทำให้ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างสองประเทศไม่พัฒนาอย่างที่ควรจะเป็นในช่วง 10 ปีแรก การศึกษายังได้ข้อสรุปเพิ่มเติม นักธุรกิจไทยยังขาดความรู้เกี่ยวกับประเทศรัสเซียและการดำเนินธุรกิจกับรัสเซียอยู่มาก อีกทั้งทัศนคติที่มีต่อรัสเซียนั้นจะแตกต่างกันออกไปตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ซึ่งส่งผลในทางลบต่อการดำเนินธุรกิจกับรัสเซียด้วย en_US
dc.description.abstractalternative The primary objective of this thesis is to study obstacles of Thai-Russian economic relations during 1991-2001. This study will mainly focus on Thai exporters’ perspective on problems constraining economic relations between the two countries during such period. Based on Robert O. Keohane and Joseph S. Nye’s interdependence concept, Thailand and Russia could rely on each other economically. But this is an unequal interdependence. The findings of this thesis correspond with the initial hypothesis which stipulates that there should have been a great improvement on economic relations between Thailand and Russia, but Russia was still in a transition from communism into capitalism in the aftermath of the collapse of the Soviet Union. Russia has experienced hard times ever since. So the economic relations between the two countries could not develop in an impressive manner as it should have been. This thesis also reveals some additional conclusions; for instance, Thai Businessmen have little knowledge both about Russia and the ways in which they do business with Russians. Moreover, the attitude towards Russia of Thai people could vary from one to another. It depends on experiences the one has derived, which could also have negative effect on running business with Russia. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject นโยบายต่างประเทศ -- ไทย en_US
dc.subject ไทย -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- รัสเซีย en_US
dc.subject รัสเซีย -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- ไทย en_US
dc.subject ไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- รัสเซีย en_US
dc.subject รัสเซีย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ -- ไทย en_US
dc.title ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจไทย-รัสเซียระหว่างปี ค.ศ. 1991-2001 en_US
dc.title.alternative Thai-Russian economic relations during 1991-2001 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name รัฐศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Chookiat.P@Chula.ac.th,Chookiat.P@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record