DSpace Repository

ตัวแปรคัดสรรที่ใช้ทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ประเภทวิธีเรียนทางไกล ในจังหวัดสมุทรปราการ

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุรกุล เจนอบรม
dc.contributor.author กัลยา ชนะภัย
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-08-14T02:45:57Z
dc.date.available 2020-08-14T02:45:57Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743336249
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67459
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแปรดัดสรรที่ใช้ทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาการ ศึกษานอกโรงเรียน สายสามัญ ประเภทวิธีเรียนทางไกล ในจังหวัดสมุทรปราการ และหาตัวแปรดัดสรรที่ใช้ทำนายเพื่อนำมาสร้างสมการทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ในจังหวัดสมุทรปราการ ในภาพรวม ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ 2/2541 ในจังหวัดสมุทรปราการรวมจำนวน 25,359 คน กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการเลือกแบบสุ่มในแต่ละอำเภอ ได้จำนวนตัวอย่างรวม 394 คน เครื่องมือที่ใช้การวิจัย คือแบบสอบถาม ซึ่งได้รับกลับคืนมา 337 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 85.53 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย คือ คำนวนค่าร้อยละ ค่าเฉี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน แบะการถดถอยพหุคูณเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นๆ ซึ่งผลการวิจัยสรุปได้ดีนี้ กลุ่มตัวอย่งจำนวน 337 คน คิดเป็นร้อยละ 85.53 ประกอบด้วย เพศหญิง 214 คน เพศชาย 123 คน ตัวแปรดัดสรรที่ดีที่สุดที่สามารถทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05 คือ การใช้สื่อของนักศึกษานักศึกษา (เอกสารคำสอนที่ครูประจำกลุ่มจัดหาให้ MEDIA17) จำนวนปีที่ขาดความต่อเนื่องในการศึกษา (YIME) และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (ACM) ซึ่งสมการในรูปคะแนน มาตราฐาน คือ Z = 453 (MEDIA17) + .362 (ACM) – .095 (TIME) en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of the research were to study selected variables which related to the achievement learning type of general education by distance learning in Changwat Samut prakarn, and to construct the multiple regression equation for predictive achievement. Research populations were 25,359 group of facilitators in Changwat Samut Prakarm. The instrument utilized for data collection was a questionnaire. Three hundred and ninety-four copies of questionnaire were distributed to the group of facilitors, three hundred and thirty-seven copies or 85.53 percent were computed and returned. Data were analyzed by using mean, standard deviation , simple correlation coefficient and stepwise multiple multiple regression analysis. Research findings were as follows: Three hundred and thirty-seven copies or 85.53 are male 123 copies, female 241 copies. The selected variables for predicting achievement of learners significant at the 0.01 and 0.05 level were media (media 17) time (time) and achievement motivation (acm) and standard score Z as follows : Z = 0.453 (media 17) + .362 (acm)- .095 (time) en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.399
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การศึกษานอกระบบโรงเรียน en_US
dc.subject การศึกษาทางไกล en_US
dc.subject ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน en_US
dc.title ตัวแปรคัดสรรที่ใช้ทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ ประเภทวิธีเรียนทางไกล ในจังหวัดสมุทรปราการ en_US
dc.title.alternative The selected variables for predicting learning achivement of learners in non-formal general education by distance learning in Changwat Samut Prakan en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การศึกษานอกระบบโรงเรียน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.1999.399


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record