DSpace Repository

การศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นำในงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดอุดรธานี

Show simple item record

dc.contributor.advisor นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์
dc.contributor.author ประภาพันธ์ เจริญกิตติ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-09-10T04:16:50Z
dc.date.available 2020-09-10T04:16:50Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.issn 9741309511
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67858
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นำในงานวิชาการของผู้ บริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 53 คน ครู จำนวน 335 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ สอบถามแบบเลือกตอบ และแบบมาตราส่วนประเมินค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม สำเร็จรูป SPSS/PC+ สถิติที่ใช้ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเกี่ยวกับพฤติกรรมความเป็นผู้นำในงานวิชาการ ของผู้บริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา รวมทั้ง 7 ด้าน ผู้ตอบแบบสอบถามเห็นว่ามีการ ปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ซึ่งเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ 1) ด้านเป็นผู้ให้การยอมรับ งานวิชาการ 2) ด้านเป็นผู้ให้ความช่วยเหลืองานวิชาการ 3) ด้านเป็นผู้คิดริเริ่มในงานวิชาการ 4) ด้านเป็นผู้รู้จักปรับปรุงงานวิชาการ 5) ด้านเป็นนักพูดที่ชำนาญในงานวิชาการ 6) ด้านเป็นผู้ประสานงานวิชาการ และ 7) ด้านเป็นผู้เข้าสังคมได้ดีเพื่อประโยชน์ในงานวิชาการ en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study the leadership behavior in academic task of secondary school administrators under the general education department, udon thani province. Sample were 53 administrators and 335 teachers. Data were analyzed by the Statistic Package for the Social Science and presented in items of frequency, percentage, mean, standard deviations. The findings were as follows : According to the opinions of the administrators and teachers, concerning about the leadership behavior in academic task of secondary school administrators in 7 aspect, were rated at high level. They were ranked as follows : 1 ) the school administrator as a recognizer in academic task ะ 2) the school administrator as a helper in academic task ; 3) the school administrator as an initiator in academic task ; 4) the school administrator as an improver of academic task ; 5) the school administrator as an effective speaker in academic task ; 6) the school administrator as a co-ordinator in academic task and ; 7) the school administrator as a social man for the benefit of academic task en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.469
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ผู้นำ en_US
dc.subject ผู้บริหารโรงเรียน -- ไทย -- อุดรธานี en_US
dc.subject โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย en_US
dc.subject งานวิชาการในโรงเรียน en_US
dc.subject Leadership en_US
dc.subject School administrators -- Thailand -- Udon Thani en_US
dc.subject High schoolsSchool administrators en_US
dc.title การศึกษาพฤติกรรมความเป็นผู้นำในงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดอุดรธานี en_US
dc.title.alternative A study of leadership behavior in academic task of secondary school administrators under the Department of General Education, Udornthani Province en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline บริหารการศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Noppong.b@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2000.469


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record