DSpace Repository

วาทวิเคราะห์บทละครของหลวงวิจิตรวาทการกับการสร้างค่านิยม

Show simple item record

dc.contributor.advisor อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท
dc.contributor.author พรพรหม ทิพยมนตรี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-09-21T09:00:52Z
dc.date.available 2020-09-21T09:00:52Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.issn 9743466576
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68069
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงกลยุทธ์ในการโน้มน้าวใจที่หลวงวิจิตร- วาทการใช้ในการสื่อสารผ่านบทละคร ในสมัยในจอมพล ป. พิบูลสงครามทั้งนี้ผู้วิจัยได้ กำหนด วัตถุประสงค์การวิจัยไว้ 5 ประการ คือ เพื่อศึกษาปัจจัยทางปริบทที่มีผลต่อประดิษฐการ (invention) ในบทละครของหลวงวิจิตรวาทการ เพื่อศึกษาแนวคิดและค่านิยมหลักในละครที่ได้รับความนิยมสูงสุดในละครของหลวงวิจิตรวาทการ เพื่อศึกษาถึงกระบวนการสร้างค่านิยมผ่านบทละครให้กับคนไทยในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม รวมทั้งศึกษากลวิธีการสื่อสารผ่านค่านิยมและหาข้อสรุปว่า กลวิธีใดสามารถโน้มน้าวใจเป็นที่ระลึกจดจำของผู้รับสารได้มากที่สุด งานวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบการวิเคราะห์โครงสร้างของละครโดยการสัมภาษณ์อย่างเจาะลึก (Indepth Interview) และการศึกษาเอกสาร (Documentary Research) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางปริบทที่มีผลต่อประดิษฐการ (invention) ในบทละคร ของหลวงวิจิตรวาทการมากที่สุดคือ ปัจจัยทางการเมืองการปกครอง บทละครที่ได้รับ ความนิยมสูงสุดของหลวงวิจิตรวาทการมีแนวคิดหลักในการปลูกฝังค่านิยมรักชาติ บท ละครประสบความสำเร็จในการสร้างค่านิยมด้วยการสร้างความสะเทือนใจก่อน แล้วจึง ตามด้วยสิ่งที่ผู้ส่งสารต้องการ หรือในบางเรื่องอาจใช้ความบันเทิงและเหตุผลเป็นตัวนำใน การส่งสาร โดยสื่อสารค่านิยมเหล่านี้ผ่าน ฉากหน้าม่าน บทสนทนา เนื้อเรื่อง บุคลิกของ ตัวละครและบทเพลงเป็นส่วนใหญ่ ผู้รับสารที่ได้ชมละครจะประทับใจและจดจำเพลงที่ใช้ ประกอบละครได้มากที่สุด en_US
dc.description.abstractalternative This thesis aimed at studying Luang Wichit Wadakam's plays in creating values in the period of Marshal Phibolsongkram. The researcher had specified 5 objectives for the thesis : first, to study about the context that was the most important for invention of plays, second, to learn about the themes and main values proposed in Luang Wichit’s plays, third, to learn about the way of inculcating values through plays in the period of Marcha! Phibolsongkram, fourth 1 to investigate communication strategies to transmit these values ; and fifth, to answer the question “What was the best way to persuade people and make them receive these values?.” The researcher investigated the structure of the plays using contextual and textual analysis, documentary research and in-depth interview. The results showed that the contextual factors most effecting the invention of Luang Wichit’s plays were politics and public administration. Luang Wichit's most popular plays had as their major theme the inculcating of patriotism and nationalism. Successful plays transmitted these values primarily through sentimental expressions followed by the messages designed by the sender. In some piays, entertainment and logical reasoning were major strategies in transferring messages through episodes in front of the curtain, dialogues, plots, characters and music. The audience was most impressed by music and could remember best the songs used in the plays. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.366
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject วิจิตรวาทการ, พลตรี หลวง, 2441-2505 -- ผลงาน en_US
dc.subject บทละครไทย en_US
dc.subject ละครโศกนาฏกรรม en_US
dc.subject การวิเคราะห์จัดกลุ่ม en_US
dc.subject Thai drama en_US
dc.subject Tragedy en_US
dc.subject Cluster analysis en_US
dc.title วาทวิเคราะห์บทละครของหลวงวิจิตรวาทการกับการสร้างค่านิยม en_US
dc.title.alternative Rhetorical analysis of Luang Wichit Wadakarn's plays in creating values en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วาทวิทยา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Orawan.P@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2000.366


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record